เป็นวงจรที่มีขาอิมิตเตอร์ (E) เป็นขาร่วมทางอินพุตและเอาท์พุต มีขาอินพุตเข้าทางขาเบส (B) มีขาเอาท์พุตออกทางขาคอลเลกเตอร์ (C) วงจรอิมิตเตอร์ร่วมแบบพื้นฐาน แสดงดังรูป
วงจรอิมิตเตอร์ร่วม ทรานซิสเตอร์ชนิด PNP
วงจรอิมิตเตอร์ร่วม ทรานซิสเตอร์ชนิด NPN
1. อิมพีแดนซ์อินพุต (Z ) ต่ำ ประมาณ 500? - 1 k ?
2. อิมพีแดนซ์เอาท์พุต (Z ) สูงประมาณ 50 k? - 100 k ?
3. เฟสสัญญาณทางอินพุตต่างจากเอาท์พุต 180 องศา หรือมีเฟสตรงข้ามกัน (Out of Phase)
4. อัตราขยายกระแส ใช้สัญลักษณ์ เบตา ( β ) มีค่าสูงประมาณ 19 เท่า ถึง 49 เท่า
5. อัตราขยายแรงดัน ( A ) มีค่าสูงประมาณ 250 เท่า ถึง 300 เท่า
6. อัตราขยายกำลัง (P ) มีค่าประมาณ 40 dB
วงจรอิมิตเตอร์ร่วมเป็นวงจรที่ถูกนำไปใช้งานมากที่สุด เพราะให้อัตราขยายสัญญาณดีทั้งขยายแรงดันและขยายกระแส นิยมนำไปใช้งานเป็นวงจรขยายเสียงวงจรขยายความถี่วิทยุ วงจรขยายความถี่ปานกลาง วงจรขยายภาคแรก และวงจรขยายกำลัง เป็นต้น
เครื่องเมือและอุปกรณ์
วิธีการทดลอง
วงจรทดสอบการทำงานของทรานซิสเตอร์
ผลการทดลอง
I |
I (mA) for V = ……………………… (V) |
||||
µA |
0.5 |
1 |
2 |
5 |
10 |
0 |
0 |
0 |
0 |
0 |
0 |
10 |
0.168 |
2.5 |
2.5 |
1.33 |
1.54 |
20 |
5.027 |
5.1 |
4.8 |
4.7 |
5.5 |
30 |
7.368 |
7.17 |
6.5 |
7.43 |
8.6 |
40 |
10.061 |
9.7 |
7.8 |
10.42 |
12.42 |
50 |
12.615 |
12.01 |
9.9 |
14.3 |
18.52 |
ตารางบันทึกผลการทดลองที่ 1
สรุปผลการทดลองที่ 1
จากการทดลอง เมื่อป้อนแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงให้วงจรตามค่าต่างๆที่กำหนดให้ ตัวทรานซิสเตอร์ก็จะนำกระแส จะสังเกตได้ว่า เมื่อเราเพิ่มค่า I กระแส I ก็จะเพิ่มด้วย เป็นตามอัตตราขยายกระแสของทรานซิสเตอร์เบอร์ BC109B
ที่มา: http://www.star-circuit.com/article/COMMON-EMITTER/COMMON-EMITTER.html