รับซ่อมแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์

กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก.

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
การค้นหาขั้นสูง  

ข่าว:

SMF - Just Installed!

ผู้เขียน หัวข้อ: คำอธิบายกฎหมายล้มละลาย อ.ชีพ จุลมนต์  (อ่าน 207 ครั้ง)

attorney285

  • บุคคลทั่วไป
คำอธิบายกฎหมายล้มละลาย อ.ชีพ จุลมนต์
« เมื่อ: ธันวาคม 18, 2017, 03:46:52 PM »

คำอธิบายกฎหมายล้มละลาย อ.ชีพ จุลมนต์ 

 
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ http://www.attorney285.com/product.detail_599548_th_6301294 

คำอธิบายกฎหมายล้มละลาย อ.ชีพ จุลมนต์
ผู้แต่ง : ชีพ จุลมนต์
ปีที่พิมพ์ ครั้งที่ 4 : พฤศจิกายน 2560
จำนวนหน้า: 546 หน้า
ขนาด 18.5 x 26 ซม.
รูปแบบ : ปกอ่อน
9786164040359
 
สารบัญ
 
บทที่ 1 การขอให้ล้มละลาย
 1.การฟ้องลูกหนี้ให้ล้มละลาย
 1.1หลักเกณฑ์การฟ้องลูกหนี้ให้ล้มละลาย
 1.2หลักเกณฑ์การฟ้องคดีล้มละลายของเจ้าหนี้มีประกัน
 1.3ภูมิลำเนาของลูกหนี้
 2.การขอให้ล้มละลายในกรณีอื่น
 2.1ในกรณีที่ลูกหนี้ตาย
 2.1.1กรณีที่ลูกหนี้ตายก่อนถูกฟ้องคดี
 2.1.2กรณีที่ลูกหนี้ได้ถึงแก่ความตายในระหว่างการพิจารณาคดีหรือเมื่อศาลได้พิพากษาให้ล้มละลายแล้ว
 2.2ในกรณีที่ลูกหนี้เป็นนิติบุคคล
 2.2.1ผู้ชำระบัญชีขอให้นิติบุคคลล้มละลาย
 2.2.2การขอให้หุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดความรับผิดล้มละลายตามห้างฯ
 2.3การขอให้ล้มละลายตามกฎหมายพิเศษ
 2.3.1การฟ้องให้กู้ยืมเงินที่เป็นผู้ต้องหาตามพระราชกำหนดการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชนฯ เป็นบุคคลล้มละลาย
 2.3.2การยื่นคำร้องต่อศาลเพื่อสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดของลูกหนี้หรือผู้ค้ำประกันตามพระราชกำหนดบรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทยฯ
 
บทที่ 2 กระบวนการพิจารณาคดีล้มละลาย
 1.ศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีล้มละลาย
 2.กฎหมายที่ใช้ในการดำเนินคดีล้มละลาย
 3.ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายในการขอให้ล้มละลาย
 4.การกำหนดวันนั่งพิจารณาและคำให้การจำเลย
 5.การพิจารณาและคำวินิจฉัยชี้ขาดคดีล้มละลาย
 5.1คำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ของลูกหนี้เด็ดขาด
 5.2คำพิพากษายกฟ้อง
 6.การให้โอกาสจำเลยในการต่อสู้คดี
 7.คำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ชั่วคราว
 8.การถอนฟ้องคดีล้มละลาย
 
บทที่ 3 กระบวนพิจารณาหลังจากศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์
 1.การแจ้งคำพิพากษาหรือคำสั่ง
 2.การประกาศโฆษณาคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์
 3.การออกหมายเรียกลูกหนี้มาสอบสวนเกี่ยวกับกิจการหรือทรัพย์สิน
 4.การยึดดวงตรา สมุดบัญชี เอกสร และทรัพย์สิน
 5.การจัดการทรัพย์สินและกิจการของลูกหนี้
 5.1ห้ามมิให้ลูกหนี้ที่ถูกพิทักษ์ทรัพย์กระทำการใดๆ เกี่ยวกับทรัพย์สินหรือกิจการของตน
 5.2เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แต่ผู้เดียวมีอำนาจจัดการทรัพย์สินและกิจการของลูกหนี้
 5.3การดำเนินคดีแทนลูกหนี้
 
บทที่ 4 การประนอมหนี้
 1.การประนอมหนี้ก่อนล้มละลาย
 1.1ความหมายของการประนอมหนี้
 1.2ระยะเวลาในการขอประนอมหนี้ก่อนล้มละลาย
 1.3การประชุมเจ้าหนี้เพื่อพิจารณาคำขอประนอมหนี้
 1.4การประนอมหนี้ต้องได้รับความเห็นชอบจากศาลด้วย
 1.5ผลของการประนอมหนี้ที่ศาลเห็นชอบด้วย
 1.6กรณีที่ลูกหนี้ผิดนัดไม่ชำระหนี้ตามข้อตกลงในการประนอมหนี้
 1.7การขอประนอมหนี้ก่อนล้มละลายกระทำได้ครั้งเดียว
 2.การประนอมหนี้ภายหลังล้มละลาย
 
บทที่ 5 การประชุมเจ้าหนี้และกรรมการเจ้าหนี้
 1.การประชุมเจ้าหนี้ครั้งแรก
 2.การประชุมเจ้าหนี้ครั้งอื่น
 3.ประธานในการประชุมเจ้าหนี้
 4.องค์ประชุมของที่ประชุมเจ้าหนี้
 5.เจ้าหนี้ที่มีสิทธิออกเสียงในที่ประชุมเจ้าหนี้
 6.ศาลอาจมีคำสั่งห้ามมิให้ปฏิบัติตามมติของที่ประชุมเจ้าหนี้
 7.กรรมการเจ้าหนี้
 
บทที่ 6 คำพิพากษาให้ล้มละลาย
 1.กรณีลูกหนี้ผิดนัดไม่ชำระหนี้ตามข้อตกลงในการประนอมหนี้
 2.กรณีที่ลูกหนี้ไม่ได้ขอประนอมหนี้ก่อนล้มละลายหรือการขอประนอมหนี้ก่อนล้มละลายไม่เป็นผลสำเร็จ
 3.การเริ่มต้นของการล้มละลาย
 
บทที่ 7 การควบคุมตัวและทรัพย์สินของลูกหนี้ และการจำกัดสิทธิ
 1.การไปร่วมประชุมเจ้าหนี้และเป็นธุระในการจำหน่ายทรัพย์สิน
 2.การกำหนดเงินเพื่อใช้จ่ายเลี้ยงชีพตนเองและครอบครัว
 3.ลูกหนี้ถูกห้ามออกไปนอกราชอาณาจักร
 
บทที่ 8 การปลดจากล้มละลาย
 1.การปลดจากล้มละลายโดยคำสั่งศาล
 1.1เงื่อนไขในการที่ศาลจะมีคำสั่งปลดจากล้มละลาย
 1.2ผลของคำสั่งปลดจากล้มละลาย
 1.3การเพิกถอนคำสั่งปลดจากล้มละลาย
 2.การปลดจากล้มละลายเมื่อพ้นกำหนดเวลา
 2.1การปลดจากล้มละลายเมื่อพ้นกำหนดเวลา
 2.2ผลของการปลดจากล้มลายตามมาตรา 81/1
 2.3การหยุดนับระยะเวลา
 
บทที่ 9 การขอรับชำระหนี้
 1.วิธีการขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลาย
 1.1กรณีเป็นสิทธิเรียกร้องที่มิใช่หนี้เงิน
 1.2กรณีเป็นหนี้เงิน
 2.การขอรับชำระหนี้ของเจ้าหนี้มีประกัน
 3.การขอรับชำระหนี้ในส่วนที่เป็นดอกเบี้ยหรือค่าป่วยการอื่นแทนดอกเบี้ย
 4.การขอรับชำระหนี้ที่ตนอาจใช้สอทธิไล่เบี้ยในเวลาภายหน้า
 5.การหักกลบลบหนี้ในคดีล้มละลาย
 6.การตรวจคำของรับชำระหนี้และการสอบสวนคำขอรับชำระหนี้
 7.คำสั่งศาลเกี่ยวกับคำขอรับชำระหนี้
 
บทที่ 10 ผลของการล้มละลายเกี่ยวกับกิจการที่ได้กระทำไปแล้ว
 1.คำสั่งของศาลที่ให้ยึดหรืออายัดทรัพย์สินของลูกหนี้ไว้ชั่วคราวหรือหมายบังคับคดีแก่ทรัพย์สินของลูกหนี้
 2.การเพิกถอนการฉ้อฉล
 3.การเพิกถอนการโอนทรัพย์สินหรือการกระทำใดๆ ซึ่งลูกหนี้ได้กระทำหรือยินยอมให้กระทำโดยมุ่งหมายให้เจ้าหนี้คนหนึ่งคนใดได้เปรียบแก่เจ้าหนี้อื่น
 
บทที่ 11 การรวบรวมและจำหน่ายทรัพย์สิน
 1.การเรียกลูกหนี้มาสอบสวน
 2.กรณีบุคคลรับว่าเป็นลูกหนี้ที่ถูกพิทักษ์ทรัพย์
 3.การทวงหนี้
 4.การชำระสะสางธุรกิจของลูกหนี้ที่ค้างอยู่
 5.การอายัดเงินเดือน บำนาญ บำเหน็จ เบี้ยหวัด ของลูกหนี้
 6.การไม่ยอมรับทรัพย์สินหรือสิทธิตามสัญญาของลูกหนี้
 7.การขายทรัพย์สินของลูกหนี้ในคดีล้มละลาย
 8.การแบ่งทรัพย์สิน
 
บทที่ 12 การปิดคดีและการยกเลิกการล้มละลาย
 1.การปิดคดี
 2.การยกเลิกการล้มละลาย
 
บทที่ 13 บทบัญญัติเบ็ดเสร็จ
 1.การดำเนินการที่เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ต้องได้รับความเห็นชอบของกรรมการเจ้าหนี้
 2.การโต้แย้งการกระทำหรือคำวินิจฉัยของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
 3.การร้องขัดทรัพย์ในคดีล้มละลาย


ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "http://www.attorney285.com/product_599548_th

*** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** 
**** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** 
 
วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่  https://www.attorney285.co.th/how2order  
*** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ *** 

1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ 
2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น) 
3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน 

 
เว็บไซต์ http://www.Attorney285.co.th 
Facebook http://www.facebook.com/attorney285.Law 

 
อีเมล attorney285@gmail.com 
โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน) 
มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน) 
LINE ID : @attorney285 




Attorney285 (ร้านหนังสือกฎหมาย คู่มือเตรียมสอบราชการ)

บริษัท แอททอร์นีย์สองแปดห้า จำกัด

ตั้งอยู่ที่ 
เลขที่ 15 
ซ.รามคำแหง 24/3 
แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ 
กรุงเทพฯ 10240 

บริษัท จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย
จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์



จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)
บันทึกการเข้า