รับซ่อมแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์

กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก.

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
การค้นหาขั้นสูง  

ข่าว:

SMF - Just Installed!

ผู้เขียน หัวข้อ: กฎหมายอาญา ภาคความผิด เล่ม 2 เกียรติขจร วัจนสวัสดิ์  (อ่าน 348 ครั้ง)

attorney285

  • บุคคลทั่วไป

กฎหมายอาญา ภาคความผิด เล่ม 2 เกียรติขจร วัจนสวัสดิ์ 
ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ http://www.attorney285.com/product.detail_571709_th_2411454กฎหมายอาญา ภาคความผิด เล่ม 2 เกียรติขจร วัจนสวัสดิ์
ผู้แต่ง : เกียรติขจร วัจนสวัสดิ์
ปีที่พิมพ์:ครั้งที่ 6 : เมษายน 2557
จำนวนหน้า: 640 หน้า
ขนาด : 18.5x26 ซม.
รูปแบบ : ปกอ่อน 


สารบัญ

สารบัญ
ลักษณะ ๔ ความผิดเกี่ยวกับศาสนา
มาตรา ๒๐๖ “เหยียดหยามศาสนา”
มาตรา ๒๐๗ “ก่อให้เกิดความวุ่นวายทางศาสนา”
มาตรา ๒๐๘ “แต่งกายหรือใช้เครื่องหมายเลียนแบบพระหรือนักบวช”
ลักษณะ ๕ ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุขของประชาชน
มาตรา ๒๐๙ “อั้งยี่”
มาตรา ๒๑๐ “ซ่องโจร”
มาตรา ๒๑๑ “ประชุมในที่อั้งยี่หรือซ่องโจร”
มาตรา ๒๑๓ “ช่วยเหลือเกื้อกูลอั้งยี่หรือซ่องโจร”
มาตรา ๒๑๓ “สมาชิกอั้งยี่หรือพรรคพวกซ่องโจรคนหนึ่งคนใดได้กระทำความผิดตามความมุ่งหมายของอั้งยี่หรือซ่องโจร”
มาตรา ๒๑๔ “เป็นปกติธุระจัดหาที่พำนัก ที่ซ่อนเร้น ที่ประชุมให้บุคลผู้กระทำความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา ภาค ๒”
มาตรา ๒๑๕ “มั่วสุม”
มาตรา ๒๑๖ “ไม่ยอมเลิกมั่วสุม ตามคำสั่งเจ้าหนักงาน”
ลักษณะ ๖ ความผิดเกี่ยวกับการก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน
มาตรา ๒๑๗ “วางเพลิงเผาทรัพย์ของผู้อื่น”
มาตรา ๒๑๘ “ เหตุฉกรรจ์ของการวางเพลิงเผาทรัพย์ของผู้อื่น”
มาตรา ๒๒๓ “ทรัพย์ราคาน้อย และไม่น่าจะเป็นอันตรายแก่บุคคลอื่น”
มาตรา ๒๑๙ “ตระเตรียมเพื่อวางเพลิงเผาทรัพย์ของผู้อื่น ตามมาตรา ๒๑๗ หรือมาตรา ๒๑๘”
มาตรา ๒๒๐ “ทำให้เกิดเพลิงไหม้แก่วัตถุใดๆที่ไม่มีเจ้าของหรือเป็นของตนเอง จนน่าจะเป็นอันตรายแก่บุคคลหรือทรัพย์ของผู้อื่น”
มาตรา๒๒๑ “ทำให้เกิดระเบิดจนน่าจะเป็นอันตรายแก่บุคคลอื่นหรือทรัพย์ของผู้อื่น”
มาตรา ๒๒๒ “ทำให้เกิดระเบิดจนเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ทรัพย์ในมาตรา ๒๑๗ หรือมาตรา ๒๑๘”
มาตรา ๒๒๓ “ทรัพย์ที่มีราคาน้อย และการกระทำไม่น่าจะเป็นอันตรายแก่บุคคลอื่น”
มาตรา ๒๒๔ วรรคแรก”การกระทำความผิดตามมาตรา ๒๑๗ มาตรา ๒๑๘ มาตรา๒๒๑หรือมาตรา๒๒๒เป็นเหตุให้บุคคลอื่นตาย “วรรคสอง”เป็นเหตุให้บุคคลอื่นได้รับอันตรายสาหัส”
มาตรา ๒๒๖
มาตรา ๒๒๗ 
มาตรา ๒๒๘”ทำให้เกิดอุทกภัยหรือเกิดขัดข้องแก่การใช้น้ำซึ่งเป็นสาธารณูปโภค”
มาตรา ๒๒๙”ทำให้ทางสาธารณฯลฯหรือที่ขึ้นลงของอากาศยานอยู่ในลักษณะน่าจะเกิดอันตรายแก่การจราจร”
มาตรา ๒๓๐
มาตรา ๒๓๑
มาตรา ๒๓๒
มาตรา ๒๓๓ “ใช้ยานพาหนะรับขนส่งคนโดยสารจนน่าจะเป็นอันตรายแก่บุคคลในยานพาหนะนั้น”
มาตรา ๒๓๔
มาตรา ๒๓๕ 
มาตรา ๒๓๖ “ปลอมปนสิ่งที่บุคคลอื่นเสพย์หรือใช้หรือจำหน่ายสิ่งนั้น”
มาตรา ๒๓๗ “เอาสิ่งเจือลงในอาหาร น้ำที่ประชาชนบริโภค”
มาตรา ๒๓๘”ผลที่กระทำต้องรับโทษหนเกขึ้นจากการกรระทำความผิดตามมาตรา ๒๒๖ ถึงมาตรา๒๓๗”
มาตรา ๒๓๙ “การกระทำความผิดตามมาตรา ๒๒๖ ถึงมาตรา๒๓๗ โดยประมาทและใกล้จะเป็นอันตรายแก่ชีวิตของ
บุคลอื่น”
ลักษณะ ๗ ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและแปลง
หมวด ๑ ความผิดเกี่ยวกับเงินตรา
มาตรา ๒๔๐ “ปลอมเงินตรา”
มาตรา ๒๔๑ “แปลงเงินตรา”
มาตรา ๒๔๒ “ทุจริตทำให้เหรียญกระษาปณ์มีน้ำหนักลดลง หรือนำเข้า นำออกใช้ หรือมีเพื่อนำออกใช้ ซึ่งเหรียญดังกล่าว”
มาตรา ๒๔๓”นำเข้าในราชอาณาจักรซึ่งเงินตราปลอมหรือเงินตราแปลง”
มาตรา ๒๔๔”มีไว้เพื่อนำออกใช้ซึ่งเงินตราปลอมหรือเงินตราแปลงซึ่งตนได้มาโดยรู้ว่าเป็นของปลอมหรือแปลง”
มาตรา ๒๔๕ “ ได้มาโดยรู้ว่าเป็นเงินตราปลอมหรือแปลง ต่อมา “รู้”แต่ยังขืนนำออกใช้
มาตรา ๒๔๖ “ทำ” เครื่องมือหรือวัตถุสำหรับปลอมหรือแปลงเงินตราหรือพันธบัตรหรือ”มี”เครื่องมือหรือวัตถุเช่นว่านั้นเพื่อใช้ในการปลอมหรือแปลง”
มาตรา ๒๔๗ “การกระทำเกี่ยวกับเงินตราหรือพันธบัตรรัฐบาลต่างประเทศ”
มาตรา ๒๔๘ “ปลอมหรือแปลงเงินตราหรือพันธบัตรของรัฐบาลไทยหรือของรัฐบาลต่างประเทศได้กระทำความผิดอื่นที่บัญญัติไว้ในหมวดนี้ด้วย”
มาตรา”เลียนเงินตรา”
หมวด ๒ ความผิดเกี่ยวกับดวงตรา แสตมป์และตั๋ว
มาตรา ๒๕๐”ปลอมดวงตราแผ่นดิน รอยตราแผ่นดิน พระปรมาภิไธย”
มาตรา ๒๕๑ “ปลอมดวงตรา รอยตราของทบวงการเมือง องค์ การสาธารณหรือของเจ้าพนักงาน”
มาตรา ๒๕๒ “ใช้สิ่งที่ตนเองหรือผู้อื่นปลอมขึ้นตรามาตรา ๒๕๐ หรือ มาตรา๒๕๑”
มาตรา ๒๕๓ “ใช้ดวงตราหรือรอยตราของจริง โดยมิชอม”
มาตรา ๒๕๔ “ปลอมหรือแปลงแสตมป์รัฐบาล”
มาตรา ๒๕๕ “นำเข้าในราชอาณาจักร ซึ่งของปลอดหรือแปลงตามที่ระบุในมาตรา ๒๕๐,๒๕๑หรือ๒๕๔”
มาตรา ๒๕๖ “ลบ ถอน หรือกระทำการใดๆแก่แสตมป์ซึ่งใช้ไม่ได้แล้วเพื่อให้ใช้ได้อีก”
มาตรา ๒๕๗”ใช้ ขาย เสนอขาย แลกเปลี่ยน เสนอแลกเปลี่ยน ซึ่งแสตมป์ที่ปลอมหรือแปลงตามมาตรา ๒๕๔ หรือแสตมป์ที่ลบแล้วถอนตามมาตรา ๒๕๖”
มาตรา ๒๕๘ “ปลอมหรือแปลงตั๋วโดยสารในการสารในการขนส่งสาธารณ หรือ ลบ ถอน หรือกระทำการใด๐แก่ตั๋ว เช่นว่านั้นซึ่งใช้ไม่ได้แล้วเพื่อให้ใช้ได้อีก”
มาตรา ๒๕๙ “การกระทำความผิดตามมาตรา ๒๕๘ แก่ตั๋วที่จำหน่ายแก่ประชาชนเพื่อผ่านเข้าสถานที่ใด”
มาตรา ๒๖๐ “ใช้ ขาย เสนอขาย แลกเปลี่ยนหรือเสนอแลกเปลี่ยนซึ่งตั๋วอันเกิดจากาการกระทำผิดตามมาตรา ๒๕๘ หรือมาตรา ๒๕๙”
มาตรา ๒๖๑” ทำเครื่องมือหรือวัตถุสำหรับปลอมหรือแปลงหรือมีเครื่องมือหรือวัตถุเพื่อใช้ในการปลอมแปลงแสตมป์รัฐบาล(ตาม มาตรา ๒๕๔ ) ตั๋วโดยสารในการขนส่งสาธารณ(ตามมาตรา ๒๕๘) หรือตั๋วที่จำหน่ายแก่ประชาชนในการผ่านเข้าสถานที่(ตามมาตรา ๒๕๙)”
มาตรา ๒๖๒ “ถ้าผู้กระทำในมาตรา ๒๕๔ มาตรา ๒๕๖ มาตรา๒๕๗หรือมาตรา๒๖๑ เกี่ยวกับแสตมป์รัฐบาลต่างประเทศ”
มาตรา ๒๖๓”ถ้าผู้กระทำความผิดตามมาตรา ๒๕๐มาตรา๒๕๑มาตรา๒๕๔มาตรามาตรา๒๕๖มาตรา๒๕๘มาตรา๒๕๙หรือมาตรา๒๖๒ได้กระทำความผิดตามมาตราอื่นที่บัญญัติไว้ในหมวดนี้ อันเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดจากกระทำความผิดนั้นด้วยให้ลงโทษผู้นั้นตามมาตรา ๒๕๐ มาตรา๒๕๑มาตรา๒๕๔มาตรา๒๕๖มาตรา๒๕๘มาตรา๒๕๙หรือมาตรา๒๖๒แต่กระทงเดียว
หมวด ๓ ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร
มาตรา๒๖๔ “ปลอมเอกสาร”
มาตรา๒๖๕ “ปลอมเอกสารสิทธิ หรือปลอมเอกสารราชการ”
มาตรา ๒๖๖ “ปลอมเอกสารพิเศษ”
มาตรา ๒๖๗ “แจ้งให้พนักงานจดข้อความเท็จลงในเอกสารซึ่งมีวัตถุประสงค์สำหรับใช้เป็นพยานหลักฐาน”
มาตรา ๒๖๘ “ใช้หรืออ้างเอกสารปลอมหรือเอกสารที่แจ้งให้พนักงานจดข้อความเท็จลงในเอกสารนั้น”
มาตรรา ๒๖๙ “ผู้มีวิชาชีพทำคำรับรองเป็นเอกสารอันเป็นเท็จ”
หมวด ๔ ความผิดเกี่ยวกับบัตรอิเล็กทรอนิกส์
คำอธิบายความหมาย”บัตรอิเล็กทรอนิกส์” มาตรา๑(๑๔)
ความหมายข้อ (ก)
ความหมายข้อ (ข)
ความหมายข้อ(ค)
การบังคับใช้กฎหมายนี้แก่การกระทำความผิดนอกราชอาณาจักร
มาตรา ๘(๒/๑)
ความผิดฐานปลอมบัตรอิเล็กทรอนิกส์ มาตรา ๒๖๙/๑
ความผิดฐาน”ทำ” เครื่องมือ หรือวัตถุสำหรับปลอมหรือสำหรับให้ได้ข้อมูลในการปลอมบัตรอิเล็กทรอนิกส์หรือสำหรับให้ได้ข้อมูลในการปลอมบัตรอิเล็กทรอนิกส์ มาตรา ๒๖๙/๒ ความผิดฐาน “นำเข้าใน”หรือ”ส่งออกไปนอก”ราชอาณาจักรซึ่งบัตรอิเล็กทรอนิกส์ปลอมหรือเครื่องมือหรือวัตถุสำหรับปลอมบัตรอิเล็กทรอนิกส์หรือเครื่องมือหรือวัตถุสำหรับให้ได้ข้อมูลในการปลอมบัตรอิเล็กทรอนิกส์มาตรา ๒๖๙/๓ความผิดฐาน”จำหน่าย”หรือ”มีไว้เพื่อจำหน่าย”ซึ่งบัตรอิเล็กทรอนิกส์ปลอม มาตรา ๒๖๙/๔
ความผิดฐานใช้บัตรอิเล็กทรอนิกส์ของผู้อื่นโดยมิชอบ มาตรา ๒๖๙/๕
ความผิดฐานมีไว้เพื่อนำออกใช้ซึ่งบัตรอิเล็กทรอนิกส์ของผู้อื่นโดยมิชอบ
มาตรา ๒๖๙/๖
เหตุฉกรรจ์ของการกระทำความผิดฐานต่างๆมาตรา๒๖๙/๗
ลักษณะพิเศษบางประการของกฎหมายใหม่นี้
ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับความผิด”บัตรอิเล็กทรอนิกส์”
หมวด ๕ ความผิดเกี่ยวกับหนังสือเดินทาง
มาตรา ๑(๑๕) ความหมายของหนังสือเดินทาง
มาตรา๘(๒)(๒/๒)ขยายให้ความผิดเกี่ยวกับหนังสือเดินทางที่กระทำนอกราชอาณาจักรรับโทษในราชอาณาจักรได้ตาม”หลักบุคคล”
มาตรา ๒๖๙/๘
มาตรา ๒๖๙/๙
มาตรา ๒๖๙/๑๐
มาตรา ๒๖๙/๑๑
มาตรา ๒๖๙/๑๒
มาตรา ๒๖๙/๑๓
มาตรา ๒๖๙/๑๔
มาตรา ๒๖๙/๑๕
ลักษณะ ๘ ความผิดเกี่ยวกับการค้า
มาตรา ๒๗๐ “ใช้หรือมีไว้เพื่อใช้เครื่องชั่ง ตวง วัด ที่ผิดอัตราเพื่อเอาเปรียบในการค้าหรือมีไว้เพื่อขาย”
มาตรา ๒๗๑”ขายโดยหลอกลวง”
มาตรา ๒๗๒
มาตรา ๒๗๓ “ปลอมเครื่องหมายการค้าของผู้อื่นซึ่งได้จดทะเบียนแล้ว”
มาตรา๒๗๔ “เลียนเครื่องหมายการค้าของผู้อื่นซึ่งได้จดทะเบียนแล้ว”
มาตรา ๒๗๕ “นำเข้าในราชอาณาจักร จำหน่าย หรือเสนอจำหน่ายซึ่งสินค้าตามมาตรา ๒๗๒(๑) หรือสินค้าที่มีเครื่องหมายการค้าปลอมมาตรา ๒๗๓ หรือสินค้าที่มีการเลียนเครื่องหมายการค้าตามมาตรา ๒๗๔”
ลักษณะ ๙ ความผิดเกี่ยวกับเพศ
มาตรา ๒๗๖ (เดิม)”ข่มขืนกระทำชำเรา”
ความหมายของ “ข่มขืนกระทำชำเรา”ตามมาตรา ๒๗๖(เดิม)โทรมหญิง
คำอธิบายตามมาตรา ๒๗๖(เดิม) ยังใช้กับมาตรา ๒๗๖(แก้ไขเพิ่มเติม)ได้เพียงใด
คำอธิบาย ตามมาตรา ๒๗๖ (เดิม) ในบางเรื่อง ที่เป็นบรรทัดฐานต่อไปอีกไม่ได้
มาตรา ๒๗๗ (เดิม) “กระทำชำเราเด็กหญิงอายุไม่เกินสิบห้าปี”
คำอธิบายมาตรา ๒๗๗ (เดิม)
คำอธิบายมาตรา ๒๗๗(เดิม) ยังใช้กับมาตรา ๒๗๗ (แก้ไขเพิ่มเติม)ได้เพียงใด
มาตรา ๒๗๖ (แก้ไขเพิ่มเติม)
มาตรา ๒๗๗(แก้ไขเพิ่ม)
การ “กระทำชำเรา”ตามมาตรา ๒๗๖(แก้ไขเพิ่มเติม)
”กรระทำกับ”ต้องมีการ”สอดใส”
การ”โทรมหญิง”ในรูปแบบของกฎหมายที่แก้ไขเพิ่มเติม
กรณีมาตรา ๒๗๗ การ”กระทำชำเรา”เด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปี(แก้ไข้เพิ่มเติม)
มาตรา ๒๗๗ ทิว (เดิม) “ผลที่ทำให้ผู้กระทำความผิดตามมาตรา ๒๗๖ วรรคแรก หรือมาตรา ๒๗๗วรรคแรก
หรือวรรคสอง ต้องรับโทษหนักขึ้น”
มาตรา ๒๗๗ ทวิ (แก้ไขเพิ่มเพิ่ม)
มาตรา ๒๗๗ตรี (เดิม) “ผลที่ให้ผู้กระทำความผิดตามมาตรา ๒๗๖วรรคสองหรือมาตรา ๒๗๗ วรรคสามต้องรับโทษหนักขึ้น
มาตรา ๒๗๗ ตรี(แก้ไขเพิ่มเติม)
มาตรา ๒๗๘ “กระทำอนาจารเด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปี”
มาตรา ๒๘๐ “ผลที่ทำให้ผู้กระทำชำเราตามมาตรา ๒๗๘ หรือ ๒๗๙ ต้องรับโทษหนักขึ้น”
มาตรา ๒๘๑”ความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเราตามมาตรา ๒๗๖วรรคแรกความผิดฐานกระทำอนาจารตามมาตรา ๒๗๖ อันเข้าลักษณะเป็นความผิดอันยอมความได้”
มาตรา ๒๘๒ “เป็นธุระจัดหา ล่อไป หรือพาไปเพื่อการอนาจาร”
มาตรา ๒๘๓” เป็นธุระจัดหา ล่อไป หรือพาไป เพื่อการอนาจาร โดยหลวกลวง ขู่เข็ญ”
มาตรา ๒๘๔ “พาไปเพื่ออนาจาร”
มาตรา ๒๘๓ ทวิ “พาบุคคลอายุไม่เกินสิบแปดปีไปเพื่ออนาจาร”
มาตรา ๒๘๕ “เหตุฉกรรจ์ของมาตราต่างๆ”
มาตรา ๒๘๖ “ดำรงชีพแม้เพียงบางส่วนจากรายได้ของ หญิงโสเภณี”(เดิม)
มาตรา ๒๘๖(แก้ไขเพิ่มเติม)
มาตรา ๒๘๗ “เผยแพร่สิ่งลามก”
ลักษณะ ๑๑ ความผิดเกี่ยวกับเสรีภาพและชื่อเสียง(เฉพาะเรื่องการ พรากผู้เยาว์)
มาตรา ๓๑๗ “พรากเด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปี”
มาตรา ๓๑๘ “พรากผู้เยาว์อายุกว่าห้าปี แต่ยังไม่เกินสิบแปดปีโดย ผู้เยาว์ไม่เต็มใจไปด้วย”
มาตรา ๓๑๙ “พรากผู้เยาว์อายุกว่าสิบห้าปี แต่ยังไม่เกินสิบแปดปี เพื่อหากำไร หรือเพื่อการอนาจาร โดยผู้เยาว์เต็มใจไปด้วย”

ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "http://www.attorney285.com/product_571709_th


*** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** 

**** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** 
วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่  http://www.attorney285.co.th/how2order 

*** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ *** 

1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ 
2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น) 
3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน 


เว็บไซต์ http://www.Attorney285.co.th 
Facebook http://www.facebook.com/attorney285.Law 



อีเมล attorney285@gmail.com 
โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน) 
มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน) 
LINE ID : @attorney285   




Attorney285 (ร้านหนังสือกฎหมาย คู่มือเตรียมสอบราชการ)

บริษัท แอททอร์นีย์สองแปดห้า จำกัด

ตั้งอยู่ที่ 
เลขที่ 15 
ซ.รามคำแหง 24/3 
แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ 
กรุงเทพฯ 10240 


บริษัท จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย
จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์



จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)
บันทึกการเข้า