รับซ่อมแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์

กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก.

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
การค้นหาขั้นสูง  

ข่าว:

SMF - Just Installed!

ผู้เขียน หัวข้อ: ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ มีกี่แบบ  (อ่าน 1162 ครั้ง)

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1009
    • ดูรายละเอียด
    • พระเครื่อง
Re: ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ มีกี่แบบ
« ตอบกลับ #15 เมื่อ: พฤศจิกายน 17, 2023, 02:35:36 AM »

วิธีปลูกผักบุ้งง่าย ๆ มีพื้นที่น้อยก็ทำได้ !


  ผักบุ้งเป็นผักสวนครัวที่นำมาประกอบอาหารได้หลายอย่าง อีกทั้งยังปลูกง่ายโตเร็ว แค่ไม่กี่อาทิตย์ก็สามารถเก็บเกี่ยวได้แล้ว วิธีปลูกนั้นก็ง่ายแสนง่าย สามารถปลูกได้ทั้งแบบเพาะเมล็ดและใช้รากปักชำ แต่วันนี้เรามีวิธีปลูกผักบุ้งแบบใหม่มาฝาก โดยวิธีนี้จะเป็นวิธีปลูกผักบุ้งแบบไม่ใช้เมล็ด สามารถปลูกได้แม้มีพื้นที่น้อย แบ่งออกเป็น 2 วิธีด้วยกันคือวิธีปลูกผักบุ้งแบบใช้ดินและวิธีปลูกผักบุ้งด้วยเม็ดดินเผา ถ้าอยากรู้ว่าวิธีปลูกผักบุ้งแต่ละวิธีมีความแตกต่างกับขั้นตอนการปลูกอย่างไรบ้าง ก็ตามไปชมพร้อม ๆ กันเลยค่ะ   

อุปกรณ์

          - ผักบุ้งสดตัดราก 1 กำมือ

          - ปุ๋ยหมักและปุ๋ยมูลไส้เดือน

          - กากมะพร้าว

          - กระถางสำหรับปลูกแบบมีรู

          - จานรองกระถาง

          - เม็ดดินเผาสำหรับปลูกพืชแบบไฮโดรโปนิกส์

          - ถาดสำหรับการปลูกพืชแบบไฮโดรโปนิกส์ ก้นลึกประมาณ 5 นิ้ว
1. วิธีปลูกแบบใช้ดิน


   1. นำต้นผักบุ้งไปแช่ในถังแล้วเติมน้ำลงไปประมาณ 2 ½-3 นิ้ว ทิ้งไว้ 4–5 วัน เพื่อรอให้รากงอก

          2. นำปุ๋ยหมักและปุ๋ยมูลไส้เดือนผสมกับกากมะพร้าวผสมให้เข้ากัน แล้วตักใส่กระถางจนเกือบเต็ม

          3. ใช้มือขุดดินตรงกลางกระถางออกให้เป็นหลุม แล้วนำต้นผักบุ้งมาวางพร้อมถมดินกลบหลุมปลูกจนเกือบเต็มกระถาง จากนั้นนำจานมารองก้นกระถางไว้เพื่อกักเก็บน้ำเอาไว้

2. วิธีปลูกด้วยเม็ดดินเผา

          1. นำเม็ดดินเผาใส่ถาดปลูกเกลี่ยให้เต็มถาดแล้วเติมน้ำ ระดับน้ำไม่เต็มจนล้นหรือน้อยเกินไป

          2. ปักผักบุ้งลงในถาดปลูกให้ลึกพอประมาณ เกลี่ยเม็ดดินเผากลบราก

          3. หมั่นเปลี่ยนถ่ายน้ำอย่างสม่ำเสมอ

          หลังจากนำลงปลูกทั้ง 2 วิธีแล้ว ให้หมั่นเด็ดใบผักบุ้งส่วนล่างที่เริ่มเหี่ยวทิ้งเพื่อกระตุ้นให้เกิดใบใหม่ เพราะผักบุ้งเป็นผักที่ชอบน้ำ ฉะนั้นถ้าปลูกในกระถางควรหมั่นรดน้ำบ่อย ๆ อย่าปล่อยให้หน้าดินแห้ง และสำหรับผักบุ้งที่ปลูกด้วยวิธีไฮโดรโปนิกส์ให้หมั่นเปลี่ยนน้ำเพื่อให้ออกซิเจนหมุนเวียนไปสู่รากของผักบุ้ง และน้ำที่ใช้ต้องเป็นน้ำสะอาดนั้น ปลูกทิ้งไว้ประมาณ 2 อาทิตย์ แค่นี้ก็เก็บกินได้แล้วค่ะ

3. วิธีปลูกผักบุ้งในตะกร้า

          อุปกรณ์

          - ตะกร้ามีรูแบบโปร่งๆ 1 ใบ

          - กระบะขนาดที่ซ้อนตะกร้าลงไปได้ 1 ใบ

          - กาบมะพร้าวสับ

          - น้ำปุ๋ยไฮโดร

          - กระบะใหญ่

          - เมล็ดผักบุ้ง

          - น้ำสะอาด

          วิธีปลูกแบบใช้เมล็ด

          1. นำตะกร้าแบบมีรูมาวางซ้อนกันกับกระบะ

          2. นำกาบมะพร้าวสับใส่ตะกร้าโดยให้มีความสูงประมาณ 3/4 นิ้ว

          3. ใส่น้ำสะอาด ให้ความสูงของน้ำปริ่มกับกาบมะพร้าว

          4. โรยเมล็ดผักบุ้งอย่าให้ติดกันจนเกินไป และนำฝาหรือภาชนะมาปิดด้านบน วางในที่ร่ม ไม่ต้องตากแดด

          5. รากจะเริ่มโผล่ใน 2 วัน ในระหว่างนี้ควรสังเกตระดับน้ำ ถ้าลดลงให้เติมให้สูงเท่าเก่า ถ้าต้นเริ่มงอกแล้วก็ไม่ต้องปิดฝาแล้ว (ใบจะได้ไม่เหลือง) และเติมปุ๋ยประมาณวันที่ 5

          6. พอครบ 14 วันเติมน้ำปุ๋ยเพิ่ม และเปลี่ยนกระบะใส่น้ำเป็นขนาดใหญ่ขึ้นเพื่อให้รากยาว

          7. พอครบ 3 สัปดาห์หรือ 21 วัน ต้นจะยาวประมาณ 10-12 นิ้ว แปลว่า ใกล้ตัดได้แล้ว ให้ถ่ายน้ำปุ๋ยออก และใส่น้ำสะอาดไว้ 3-5 วัน เพื่อล้างปุ๋ยตกค้างออกและตัดได้ทันที

โปรโมชั่นสำหรับคุณ รั้วตาข่าย ลวดหนาม
บันทึกการเข้า

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1009
    • ดูรายละเอียด
    • พระเครื่อง
Re: ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ มีกี่แบบ
« ตอบกลับ #16 เมื่อ: พฤศจิกายน 17, 2023, 02:35:57 AM »

วิธีปลูกผักบุ้งง่าย ๆ มีพื้นที่น้อยก็ทำได้ !


  ผักบุ้งเป็นผักสวนครัวที่นำมาประกอบอาหารได้หลายอย่าง อีกทั้งยังปลูกง่ายโตเร็ว แค่ไม่กี่อาทิตย์ก็สามารถเก็บเกี่ยวได้แล้ว วิธีปลูกนั้นก็ง่ายแสนง่าย สามารถปลูกได้ทั้งแบบเพาะเมล็ดและใช้รากปักชำ แต่วันนี้เรามีวิธีปลูกผักบุ้งแบบใหม่มาฝาก โดยวิธีนี้จะเป็นวิธีปลูกผักบุ้งแบบไม่ใช้เมล็ด สามารถปลูกได้แม้มีพื้นที่น้อย แบ่งออกเป็น 2 วิธีด้วยกันคือวิธีปลูกผักบุ้งแบบใช้ดินและวิธีปลูกผักบุ้งด้วยเม็ดดินเผา ถ้าอยากรู้ว่าวิธีปลูกผักบุ้งแต่ละวิธีมีความแตกต่างกับขั้นตอนการปลูกอย่างไรบ้าง ก็ตามไปชมพร้อม ๆ กันเลยค่ะ   

อุปกรณ์

          - ผักบุ้งสดตัดราก 1 กำมือ

          - ปุ๋ยหมักและปุ๋ยมูลไส้เดือน

          - กากมะพร้าว

          - กระถางสำหรับปลูกแบบมีรู

          - จานรองกระถาง

          - เม็ดดินเผาสำหรับปลูกพืชแบบไฮโดรโปนิกส์

          - ถาดสำหรับการปลูกพืชแบบไฮโดรโปนิกส์ ก้นลึกประมาณ 5 นิ้ว
1. วิธีปลูกแบบใช้ดิน


   1. นำต้นผักบุ้งไปแช่ในถังแล้วเติมน้ำลงไปประมาณ 2 ½-3 นิ้ว ทิ้งไว้ 4–5 วัน เพื่อรอให้รากงอก

          2. นำปุ๋ยหมักและปุ๋ยมูลไส้เดือนผสมกับกากมะพร้าวผสมให้เข้ากัน แล้วตักใส่กระถางจนเกือบเต็ม

          3. ใช้มือขุดดินตรงกลางกระถางออกให้เป็นหลุม แล้วนำต้นผักบุ้งมาวางพร้อมถมดินกลบหลุมปลูกจนเกือบเต็มกระถาง จากนั้นนำจานมารองก้นกระถางไว้เพื่อกักเก็บน้ำเอาไว้

2. วิธีปลูกด้วยเม็ดดินเผา

          1. นำเม็ดดินเผาใส่ถาดปลูกเกลี่ยให้เต็มถาดแล้วเติมน้ำ ระดับน้ำไม่เต็มจนล้นหรือน้อยเกินไป

          2. ปักผักบุ้งลงในถาดปลูกให้ลึกพอประมาณ เกลี่ยเม็ดดินเผากลบราก

          3. หมั่นเปลี่ยนถ่ายน้ำอย่างสม่ำเสมอ

          หลังจากนำลงปลูกทั้ง 2 วิธีแล้ว ให้หมั่นเด็ดใบผักบุ้งส่วนล่างที่เริ่มเหี่ยวทิ้งเพื่อกระตุ้นให้เกิดใบใหม่ เพราะผักบุ้งเป็นผักที่ชอบน้ำ ฉะนั้นถ้าปลูกในกระถางควรหมั่นรดน้ำบ่อย ๆ อย่าปล่อยให้หน้าดินแห้ง และสำหรับผักบุ้งที่ปลูกด้วยวิธีไฮโดรโปนิกส์ให้หมั่นเปลี่ยนน้ำเพื่อให้ออกซิเจนหมุนเวียนไปสู่รากของผักบุ้ง และน้ำที่ใช้ต้องเป็นน้ำสะอาดนั้น ปลูกทิ้งไว้ประมาณ 2 อาทิตย์ แค่นี้ก็เก็บกินได้แล้วค่ะ

3. วิธีปลูกผักบุ้งในตะกร้า

          อุปกรณ์

          - ตะกร้ามีรูแบบโปร่งๆ 1 ใบ

          - กระบะขนาดที่ซ้อนตะกร้าลงไปได้ 1 ใบ

          - กาบมะพร้าวสับ

          - น้ำปุ๋ยไฮโดร

          - กระบะใหญ่

          - เมล็ดผักบุ้ง

          - น้ำสะอาด

          วิธีปลูกแบบใช้เมล็ด

          1. นำตะกร้าแบบมีรูมาวางซ้อนกันกับกระบะ

          2. นำกาบมะพร้าวสับใส่ตะกร้าโดยให้มีความสูงประมาณ 3/4 นิ้ว

          3. ใส่น้ำสะอาด ให้ความสูงของน้ำปริ่มกับกาบมะพร้าว

          4. โรยเมล็ดผักบุ้งอย่าให้ติดกันจนเกินไป และนำฝาหรือภาชนะมาปิดด้านบน วางในที่ร่ม ไม่ต้องตากแดด

          5. รากจะเริ่มโผล่ใน 2 วัน ในระหว่างนี้ควรสังเกตระดับน้ำ ถ้าลดลงให้เติมให้สูงเท่าเก่า ถ้าต้นเริ่มงอกแล้วก็ไม่ต้องปิดฝาแล้ว (ใบจะได้ไม่เหลือง) และเติมปุ๋ยประมาณวันที่ 5

          6. พอครบ 14 วันเติมน้ำปุ๋ยเพิ่ม และเปลี่ยนกระบะใส่น้ำเป็นขนาดใหญ่ขึ้นเพื่อให้รากยาว

          7. พอครบ 3 สัปดาห์หรือ 21 วัน ต้นจะยาวประมาณ 10-12 นิ้ว แปลว่า ใกล้ตัดได้แล้ว ให้ถ่ายน้ำปุ๋ยออก และใส่น้ำสะอาดไว้ 3-5 วัน เพื่อล้างปุ๋ยตกค้างออกและตัดได้ทันที

โปรโมชั่นสำหรับคุณ รั้วตาข่าย ลวดหนาม
บันทึกการเข้า

ruataewada

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1009
    • ดูรายละเอียด
    • พระเครื่อง
Re: ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ มีกี่แบบ
« ตอบกลับ #17 เมื่อ: พฤศจิกายน 22, 2023, 07:23:50 AM »

รั้วต้นไม้


รั้วต้นไม้
รั้วต้นไม้สร้างบรรยากาศร่มรื่นและสบายตา เพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับบ้าน ช่วยป้องกันเสียงและพรางสายตาจากบุคคลภายนอกได้เป็นอย่างดี ต้นไม้ที่ควรเป็นต้นไม้พุ่มหนาหรือไม้ที่สามารถปลูกถี่ๆได้เพื่อสร้างความั่นคงและคงอยู่กับเราให้ได้นานที่สุด และควรเป็นต้นไม้ที่มีอายุยืนนาน เช่น แก้วแคระ สนหอม มะม่วงหาวมะนาวโห่ มะนาวคาเวียร์ ม่วงเจริญ ชมพูนุช เข็มขาว ทองพันชั่ง มะขามเทศด่าง ไทรเกาหลี ต้นโมก แก้ว ข่อย ชาฮกเกี้ยน ฯลฯ

คุณสมบัติและลักษณะ
หลายๆ ท่านที่มีที่ดินอยู่ในมือแต่ไม่ได้ใช้งานให้เกิดประโยชน์ จนพื้นที่เป็นที่ดินว่างหรือพื้นที่รกร้างก็ต้องเสียภาษีด้วย โดยอัตราภาษีเริ่มต้นที่ 0.3% แต่หากเป็นที่ดินที่ใช้ประโยชน์ในการประกอบเกษตรกรรมหรือเพื่ออยู่อาศัย อัตราภาษีเริ่มต้นที่ 0.01% ดังนั้น ผู้ถือที่ดินส่วนใหญ่จึงไม่ค่อยปล่อยให้ที่ดินรกร้าง และนำไปใช้ประโยชน์ทั้งปล่อยเช่า หรือทำนา ทำไร่ เลี้ยงสัตว์เป็นส่วนใหญ่เพื่อหลีกเลี่ยงภาษีที่ดินราคาแพงทั้งๆที่ไม่ได้ใช้พื้นที่เลย

การเปลี่ยนที่ดินรกร้างให้เป็นที่ดินเกษตร นอกจากจะเสียอัตราภาษีที่ถูกลงแล้ว ยังสามารถรับรายได้จากผลผลิต โดยที่ผู้ถือที่ดินจะต้องขึ้นทะเบียนเป็นเกษตรกร เพื่อยืนยันตัวตนกว่าเรานั้นเป็น ”เกษตรกร” ตัวจริงเพื่อรับสิทธิเยียวยาต่างๆจากหน่วยงานรัฐ ป้องกันน้ำท่วม ฝนแล้งได้ดีอีกด้วย

ที่ดินรกร้างที่เปลี่ยนเป็นที่ดินเกษตรกรรมจะต้องใช้ประโยชน์ในการทำเกษตรกรรมจริงๆ เช่น ทำนา ทำไร่ ทำสวน เลี้ยงสัตว์ ดังนั้น ก่อนทำเกษตรกรรมเจ้าของที่ดินควรล้อมรั้วเพื่อป้องกันไม่ให้ถูกรุกราน และป้องกันอันตรายกันก่อน ซึ่งไอเดียการล้อมรั้วที่ดินนั้นมีหลากหลายมาก เราจึงเอา 8 ไอเดียล้อมรั้วที่ดินในราคาประหยัดและปลอดภัยมาฝากทุกคนกันครับ
วิธีการใช้งาน
เหมาะสำหรับการทำเป็นรั้วบ้าน โดยเฉพาะบ้านที่มีพื้นที่น้อยต้องการมีพื้นที่สีเขียว สามารถปลูกทดแทนรั้วคอนกรีตเพิ่มความร่มรื่นให้กับบ้านได้
อายุการใช้งาน
ขึ้นอยู่กับการดูแล ต้นไม้แต่ละชนิดต้องการการดูแลที่แตกต่างกัน หากดูแลดีสามารถอยู่ได้หลาย 10 ปี
ข้อดี
ปลูกเป็นรั้วทานได้
ประหยัดทั้งค่าแรงและค่าวัสดุก่อสร้างแล้ว ยังช่วยสร้างความร่มรื่น เย็นตาเย็นใจ ช่วยกรองฝุ่นเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับบ้านด้วย
ราคาต้นทุน
ต้นทุนขึ้นอยู่กับไม้ที่ต้องการปลูก โดยรวมรั้วต้นไม้ประหยัดกว่ารั้วคอนกรีตอยู่พอสมควร เช่น ชาฮกเกี้ยน ราคาเฉลี่ยต้นละ 3 บาท ไทรเกาหลี ราคาเฉลี่ยต้นละ 100 บาท เป็นต้น

โปรโมชั่นสำหรับคุณลูกค้า ลวดหนาม ตาข่ายถัก
บันทึกการเข้า