รับซ่อมแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์

กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก.

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
การค้นหาขั้นสูง  

ข่าว:

SMF - Just Installed!

ผู้เขียน หัวข้อ: กฎหมายแพ่ง หลักทั่วไป กันย์กัญญา ใจการวงค์สกุล  (อ่าน 407 ครั้ง)

attorney285

  • บุคคลทั่วไป

กฎหมายแพ่ง หลักทั่วไป กันย์กัญญา ใจการวงค์สกุล
 


ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ http://attorney285.com/product.detail_571705_th_7094816

กฎหมายแพ่ง หลักทั่วไป กันย์กัญญา ใจการวงค์สกุล
ผู้แต่ง : กันย์กัญญา ใจการวงค์สกุล
ปีที่พิมพ์ ครั้งที่ 1 : กันยายน 2560
จำนวนหน้า: 224 หน้า
ขนาด : 18.5x26 ซม. 
รูปแบบ : ปกอ่อน
9786162696251
 
หนังสือเล่มนี้มีเนื้อหาครอบคลุมเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางกฎหมายที่สำคัญ ความหมาย ลักษณะของกฎหมาย หลักนิติธรรม พัฒนาการของกฎหมาย 3 ยุค วิวัฒนาการของกฎหมาย ที่มาของกฎหมาย สำนักความคิดทางกฎหมาย การแบ่งประเภทของกฎหมาย ลำดับชั้นหรือศักดิ์ของกฎหมาย ระบบกฎหมาย การใช้กฎหมาย การยกเลิกกฎหมาย  ตลอดจนสาระสำคัญที่ครอบคลุมกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 1 ลักษณะ 1-2
 
สารบาญ
 
 
บทที่ 1 ความหมาย ลักษณะ และวิวัฒนาการของกฎหมาย
          1. ความหมายของกฎหมาย
          2. ลักษณะกฎหมาย
          3. หลักนิติธรรม
          4. ส่วนประกอบของกฎหมาย
          5. พัฒนาการกฎหมาย 3 ยุค
          6. ความสัมพันธ์ระหว่างกฎหมายกับข้อบังคับที่คล้ายคลึงกัน
          7. วิวัฒนาการของกฎหมายในอดีตกาล
          8. วิวัฒนาการของกฎหมายไทย
บทที่ 2 ที่มาของกฎหมาย
          1. ที่มาของกฎหมาย
          2. ที่มาในลักษณะที่เป็นกฎหมายลายลักษณ์อักษร
          3. ที่มาในลักษณะที่มิได้เป็นกฎหมายลายลักษณ์อักษร
          4. ที่มาของกฎหมายในแต่ละระบบ
บทที่ 3 สำนักความคิดทางกฎหมาย
          1. สำนักความคิดในทางกฎหมายธรรมชาติ
          2. สำนักความคิดในทางกฎหมายฝ่ายประวัติศาสตร์
          3. สำนักความคิดในทางกฎหมายฝ่ายบ้านเมือง
          4. สำนักความคิดในทางกฎหมายฝ่ายสังคมวิทยา
          5. สำนักความคิดในทางกฎหมายอรรถประโยชน์
บทที่ 4 ระบบกฎหมาย ปะเภทของกฎหมาย และศักดิ์หรือลำดับชั้นแห่งกฎหมาย
          1. ระบบกฎหมาย
          2. ระบบกฎหมายของประเทศไทย
          3. ประเภทของกฎหมาย
          4. ศักดิ์หรือลำดับชั้นของกฎหมาย
บทที่ 5 การใช้กฎหมาย การยกเลิกและการตีความกฎหมาย
          1. กามใช้กฎหมาย
          2. การยกเลิกกฎหมาย 
          3. การตีความกฎหมาย
บทที่ 6 การอุดช่องว่างของกฎหมาย   
          1. ความหมายการอุดช่องว่างของกฎหมาย
          2. สาเหตุที่ทำให้เกิดช่องว่างแห่งกฎหมาย
          3. วิธีอุดช่องว่างแห่งกฎหมาย
          4. วิธีการเพื่อให้ทราบถึงช่องว่างแห่งกฎหมาย
          5. ประเภทของการอุดช่องว่างแห่งกฎหมาย
บทที่ 7 สิทธิและการใช้สิทธิ
          1. สิทธิ
          2. แนวคิดเรื่องสิทธิ
          3. องค์ประกอบของสิทธิ
          4. คำอื่นที่คล้ายคลึงกับสิทธิ
          5. ลักษณะของสิทธิ
          6. ประเภทของสิทธิ
          7. การใช้สิทธิ
บทที่ 8 ผู้ทรงสิทธิ
          1. บุคคลธรรมดา
              1.1 สภาพบุคคล
              1.2 วันเกินของบุคคล
              1.3 วัยตายของบุคคล
              1.4 การสิ้นสภาพบุคคล
              1.5 ผลของการเป็นคนสาบสูญ
              1.6 การเพิกถอนคำสั่งให้เป็นคนสาบสูญ
            2. สิ่งซึ่งประกอบสภาพบุคคล
            3. ภูมิลำเนา
            4. สถานะของบุคคล
            5. สัญชาติ
            6. ความสามารถของบุคคล
            7. ผู้เยาว์
            8. คนไร้ความสามารถ
            9. คนวิกลจริต
          10. คนเสมือนไร้ความสามารถ
          11. นิติบุคคล
              11.1 ทฤษฎีของนิติบุคคล
              11.2 ประเภทของของนิติบุคคล
              11.3 สิทธิและหน้าที่ของบุคคล
              11.4 การจัดการตินิบุคคล
              11.5 ผู้แทนนิติบุคคล
              11.6 อำนาจและความรักผิดชอบของผู้แทนนิติ
              11.7 การดำเนินกิจการของนิติบุคคลกรณีมีผู้แทนนิติบุคคลมีหลายคน 
              11.8 ภูมิลำเนาของนิติบุคคล
              11.9 การสิ้นสภาพนิติบุคคล
บทที่ 9 หลักสุจริต
          1. ประวัติและวิวัฒนาการของหลักสุจริต
          2. ความหมายของหลักสุจริต
          3. หลักสุจริตในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
          4. ประเภทของหลักสุจริต
บทที่ 10 ดอกเบี้ย
          1. ประวัติดอกเบี้ย
          2. ความหมายของดอกเบี้ย
          3. การคิดดอกเบี้ยของกฎหมายไทย
บทที่ 11 เหตุสุดวิสัย
          1. ความหมาย
          2. เหตุสุดวิสัยกับผลทางกฎหมาย
บทที่ 12 ลายมือ
          1. ความหมาย
          2. ผลของการฝ่าฝืนในกรณีลายมือชื่อที่ไมเป็นไปตามกฎหมาย
          3. ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
          4. การใช้ลายพิมพ์นิ้วมือ แกงได ตราประทับ หรือเครื่องหมายอื่นทำนองเช่นว่านั้น
บทที่ 13 การตีความเอกสาร
          1. เอกสานตีความได้สองนัย
          2. กรณีมีข้อสงสัยให้ตีความไปในทางที่เป็นคุณแก่ฝ่ายผู้ต้องเสียในมูลหนี้
          3. จำนวนเงินหรือปริมาณไม่ตรงกันให้ถือเอาตามตัวอักษร
          4. จำนวนเงินปริมาณในหลายแห่งไม่ตรงกันให้ถือเอาจำนวนน้อยที่สุด
          5. เอกสารที่ทำไว้หลายภาษา


ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "http://attorney285.com/product_571705_th

*** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** 
**** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** 
 
วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่  https://www.attorney285.co.th/how2order  
*** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ *** 

1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ 
2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น) 
3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน 

 
เว็บไซต์ http://www.Attorney285.co.th 
Facebook http://www.facebook.com/attorney285.Law 

 
อีเมล attorney285@gmail.com 
โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน) 
มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน) 
LINE ID : @attorney285 




Attorney285 (ร้านหนังสือกฎหมาย คู่มือเตรียมสอบราชการ)

บริษัท แอททอร์นีย์สองแปดห้า จำกัด

ตั้งอยู่ที่ 
เลขที่ 15 
ซ.รามคำแหง 24/3 
แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ 
กรุงเทพฯ 10240 

บริษัท จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย
จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์



จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)

 
บันทึกการเข้า