รับซ่อมแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์

กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก.

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
การค้นหาขั้นสูง  

ข่าว:

SMF - Just Installed!

ผู้เขียน หัวข้อ: คำอธิบายกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วย บุคคล อังคณาวดี ปิ่นแก้ว  (อ่าน 408 ครั้ง)

attorney285

  • บุคคลทั่วไป

คำอธิบายกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วย บุคคล อังคณาวดี ปิ่นแก้ว

ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ http://www.attorney285.com/product.detail_571705_th_2427201คำอธิบายกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วย บุคคล อังคณาวดี ปิ่นแก้ว
ผู้แต่ง : อังคณาวดี ปิ่นแก้ว
ปีที่พิมพ์ ครั้งที่ 1 : เมษายน 2560
จำนวนหน้า 306 หน้า 
รูปแบบ : หนังสือ เข้าเล่ม ไสกาว
ขนาด (18.5x26 ซม.)
 
การเริ่มต้นและสิ้นสุดสภาพบุคคล การระบุตัวบุคคล การจัดการทรัพย์สินของผู้ไม่อยู่ คนสาบสูญ ความสามารถตามกฎหมาย 
 
บทที่1การเริ่มต้นและการสิ้นสุดสภาพบุคคล
 
ข้อความเบื้องต้น
1.การเริ่มต้นสภาพบุคคล
 1.1 แนวคิดและความเป็นมา
 1.2 การเริ่มต้นสภาพบุคคล
 1.2.1การคลอด
 1.2.2. การอยู่รอดเป็นทารก
2.สิทธิของทารกในครรภ์มารดา
 2.1 แนวคิดและความเป็นมา
 2.2 ข้อพิจารณาเรื่องสิทธิของทารกในครรภ์มารดา
 2.2.1ความหมายของคำว่าทารกในครรภ์มารดา 
(Child en vente sa mere)
2.2.2เงื่อนไขของการคุ้มครอง
2.2.3สิทธิได้รับการคุ้มครอง
2.2.3.1 สิทธิในการเป็นทายาทรับมรดก
2.2.3.2สิทธิในการรับประโยชน์ตามหลักนิติกรรมสัญญา
2.2.3.3 สิทธิในการฟ้องเรียกค่าสินไหมทดแทนในคดีละเมิด
 3.การสิ้นสภาพบุคคล
3.1หลักเกณฑ์การพิจารณาเรื่องการตาย
3.1.1การตายโดยธรรมชาติ(NaturalDeath)
3.1.2สมองตาย(BrainDeath)
3.1.3การตายตามข้อสันนิษฐานของกฎหมายหรือการสาบสูญ
 3.2การมีผลของการสิ้นสภาพบุคคล
4.การนับอายุและข้อสันนิษฐานวันเกิดของบุคคล
 4.1การนับอายุและการกำหนดวันเกิด
 4.1.1 การนับอายุ
 4.1.2 การกำหนดวันเกิดของบุคคล
5.บทสันนิษฐานลำดับการตายของบุคคล
 5.1การมีบุคคลหลายคนตายในภยันตรายเดียวกัน
 5.2การไม่รู้ว่าใครตายก่อนตายหลัง
 5.3ข้อสันนิษฐานทางกฎหมาย
 
บทที่ 2 การระบุตัวบุคคล
 ข้อความเบื้องต้น
1.นามหรือชื่อของบุคคล
 1.1การได้มาซึ่งชื่อและหลักเกณฑ์การตั้งชื่อ
1.1.1 ชื่อตัวและชื่อรอง
 1.1.1.1. การได้มา
1.1.1.2. เกณฑ์การตั้งชื่อ
 1.1.2ชื่อสกุล
 1.1.2.1 การได้มา
1.1.2.2 เกณฑ์การตั้งชื่อสกุล
1.2การคุ้มครองสิทธิในชื่อของบุคคล มาตรา 18
 1.2.1ชื่อที่ได้รับการคุ้มครอง
1.2.2 พฤติการณ์หรือเหตุแห่งการคุ้มครอง
 1.2.2.1การถูกโต้แย้งสิทธิของเจ้าของชื่อ
1.2.2.2การใช้ชื่อเดียวกันโดยไม่มีอำนาจ
1.2.3มาตรการที่กฎหมายคุ้มครอง
 2. ภูมิลำเนา 
 2.1แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับภูมิลำเนา
2.1.1หลักการมีภูมิลำเนาของบุคคล
2.1.2จำนวนภูมิลำเนาของบุคคล
2.1.2.1หลักที่ว่าบุคคลมีภูมิลำเนาได้ดพียงหนึ่งแห่ง
2.1.2.2หลักที่ว่าบุคคลมีภูมิลำเนาได้มากกว่าหนึ่งแห่ง
 2.2ภูมิลำเนาของบุคคลตามประมาลกฎหมายแพ่งและพานิชย์
 2.2.1.1หลักเกณฑ์ของภูมิลำเนาตามมาตรา 37
 2.2.1.2กรรีมีถิ่นที่อยู่หลายแห่งหรือมีหลักแหล่งที่ทำการงานเป้นปกติหลายแห่ง
 2.2.1.3กรณีไม่ปรากฎภูมิลำเนา
 2.2.1.4กรณีไม่มีที่อยู่เป็นหลักแหล่งหรือครองชีพในการเดินทางไปมา
 2.2.1.5กรรีเปลี่ยนภูมิลำเนา
 2.2.1.6ภูมิลำเนาเฉพาะการ
 2.2.2ภูมิลำเนาที่กฎหมายกำหนด
 2.2.2.1ภูมิลำเนาตามกฎหมายอันเกิดจากการอยู่ภายใต้อำนาจปกครองดูแลของบุคคลอื่น
 2.2.2.2ภูมิลำเนาตามกฎหมายอันเิดจากเหตุผลด้ารฃนการดำเนินชีวิต
 
บทที่ 3 การจัดการทรัพย์สินของผู้ไม่อยู่
ข้อความเบื้องต้น
1. การเป็นผู้ไม่อยู่
2. กรณีผู้ไม่อยู่ไม่ได้ตั้งตัวแทนรับมอบอำนาจทั่วไปไว้
 2.1 หลักเกณฑ์การปรับใช้มตรา48
2.1.1การไปเสียจากภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่ดดยไม่รู้แน่ว่าเป็นตายร้ายดียังไง
2.1.2ปราศจากการตั้งตัวแทนผู้รับมอบอำนาจทั่วไปไว้
2.2 ผู้มีสิทธิร้องขอ
 2.2.1ผู้มีส่วนได้เสีย
 2.2.2พนักงานอัยการ
 2.3ศาลมีคำสั่งเพื่อจัดการทรัพย์สิน 
 3. การนำมาตรา 48 มาใช้บังคับโดยอนุโลมตามมาตรา 49
 3.1 เหตุแห่งการปรับใช้มาตรา 49
 3.2 อำนาจหน้าที่ของผู้จัดการทรัพย์สิน
3.2.1หน้าที่จัดทำบัญชีทรัพย์สินของผู้ไม่อยู่
3.2.2หน้าที่อันเกิดจากคำสั่งของศาล
 3.2.2.1การจัดหาประกันอันสมควร
 3.2.2.2การแถลงถึงความเป็นอยู่แห่งทรัพย์สิน
3.2.3อำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับตัวแทนรับมอบอำนาจทั่วไป
3.2.4กรอบอำนาจกรณีที่ผู้ไม่อยู่ได้ตั้งตัวแทนรับมอบอำนาจเฉพาะการไว้
3.2.5นำบทบัญญัติว่าด้วยตัวแทนมาใช้บังคับโดยอนุโลม
3.3บำเหน็จของผู้จัดการทรัพย์สิน
3.4การสิ้นสุดลงของการเป็นผู้จัดการทรัพย์สิน
3.4.1เหตุที่เกี่ยวข้องกับผู้ไม่อยู่ 
3.4.2เหตุที่เกี่ยวข้องกับผู้จัดการทรัพย์สิน 
3.5ผลสืบเนื่องจากการสิ้นสุดความเป็นผู้จัดการทรัพย์สิน
4.กรณีผู้ไม่อยู่ตั้งคัวแทนรับมอบอำนาจทั่วไปไว้
 4.1การนำมาตรา 48 มาบังคับใช้กับตัวแทนรับมอบอำนาจทั่วไป ในมาตรา 49
 4.2การทำบัญชีทรัพย์สิน
 
บทที่ 4 คนสาบสูญ
ข้อความเบื้องต้น
1.แนวคิดทางกฎหมายในเรื่องการสาบสูญ
2.หลักกฎหมายเรื่องบุคคลสาบสูญ
 2.1 หลักเกณฑ์ของการสั่งให้เป็นคนสาบสูญ
 2.1.1 เหตุในการร้องขอ
 2.1.2 ระยะเวลาของการไปจากภูมิลำเนาหรือถิ่นที่อยู่
 2.1.2.1ระยะเวลา 5 ปี
 2.1.2.2ระยะเวลา 2 ปี
 2.1.3 ผู้มีสิทธิร้องขอต่อศาล
 2.1.3.1ผู้มีส่วนได้เสีย
 2.1.3.2พนักงานอัยการ
2.2 ผลของคำสั่งให้เป็นคนสาบสูญ
 2.2.1ตายโดยผลของกฎหมาย
 2.2.2เวลาที่คำสั่งให้เป็นคนสาบสูญมีผล
 2.2.3การประกาศคำสั่งศาลในราชกิจจานุเบกษา
 2.3 คำสั่งเพิกถอนให้เป็นคนสาบสูญและผลทางกฎหมาย
 2.3.1เหตุในการเพิกถอนคำสั่ง
2.3.1.1บุคคลที่ถูกศาลสั่งให้เป็นคนสาบสูญยังมีชีวิตอยู่
2.3.1.2บุคคลที่ถูกศาลสั่งให้เป็นคนสาบสูญตายในเวลาอื่น
 2.3.2ผู้มีสิทธิร้องขอ
 2.3.3ผลของการสั่งถอนคำสั่ง
 
บทที่ 5 ความสามารถตามกฎหมายของบุคคล
ข้อความเบื้องต้น
1.ผู้เยาว์
1.1.1การบรรลุนิติภาวะโดยอายุ
1.1.2การบรรลุนิติภาวะโดยการสมรส
 1.1.2.1กรณีผู้เยาว์อายุ 17 ปี
 1.1.2.2กรรีผู้เยาว์อายุไม่ถึง 17 ปี
 1.2ผลของการบรรลุนิติภาวะ
 1.3ผู้เยาว์กับการทำนิติกรรม
1.3.1ความยินยอมให้ทำนิติกรรม
1.3.2ผู้แทนโดยชอบธรรมที่มีสิทธิให้ความยินยอม
 1.3.2.1ผู้ใช้อำนาจปกครอง
 1.3.2.2ผู้ปกครอง
 1.3.3 วิธีการให้ความยินยอม
 1.3.4 นิติกรรมที่ผู้เยาว์ทำได้ดดยไม่ต้องขอความยินยอม
 1.3.4.1นิติกรรมที่เป็นแต่คุณหรือประโยชน์ต่อผู้เยาว์
 1.3.4.2นิติกรรมที่ผู้เยาว์ต้องทำเองเฉพาะตัว
 1.3.4.3นิติกรรมที่จำเป็นในการดำรงชีพตามสมควรของผู้เยาว์
1.3.5 การขอความยินยอมสำหรับการทำนิติกรรมเฉพาะเรื่อง
1.3.5.1ความยินยอมในการจำหน่ายทรัพย์สิน
1.3.5.2ความยินยอมให้ประกอบธุรกิจหรือทำสัญญาเป็นลูกจ้าง
1.3.6 นิติกรรมบางประเภทผู้แทนดดยชอบธรรมไม่อาจใหความยินยอมได้
1.3.6.1นิติกรรมตามมาตรา 1574 
1.3.6.2นิติกรรมตามมาตรา 1575
2.คนไร้ความสามารถ
2.1แนวคิดทางกฎหมายในเรื่องการคุ้มครองคนไร้ความสามารถ
2.1.1ผู้อนุบาลที่เกิดจากการแต่งตั้งของศาล
2.1.2ผู้อนุบาลที่เกิดจากการแสดงล่วงหน้าของบุคคลที่ตกเป็นคนไร้ความสามารถ
 2.2หลักเกณฑ์ตามกฎหมายของการสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ 
 2.2.1เหตุแห่งการร้องขอ
 2.2.2บุคคลผู้มีสิทธิร้องขอ
2.2.2.1บุคคลตามมาตรา 28
2.2.2.2ผู้มีส่วนได้เสียตามมาตรา 1610 
2.2.3ศาลมีคำสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ
 2.3ผลของการเป็นคนไร้ความสามารถ
 2.3.1ต้องอยู่ในการอนุบาล
2.3.1.1ผู้ที่จะเป็นผู้อนุบาลและอำนาจหน้าที่
 2.3.2คนไร้ความสามารถไม่อาจทำนิติกรรมได้เอง
 2.4การเพิกถอนคำสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ
3.คนเสมือนไร้ความสามารถ
 3.1 หลักเกณฑ์ตามกฎหมายของการเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ
3.1.1เหตุแห่งการร้องขอ
 3.1.1.1มีเหตุบกพร่อง
 3.1.1.2ไม่สามารถจัดการงานของตนได้
 3.1.2 บุคคลผู้มีสิทธิร้องขอ
3.1.2.1บุคคลตามมาตรา 28 
3.1.2.2ผู้มีส่วนได้เสียตามมาตรา 1610
 3.1.3การพิจารณาของศาล
3.1.3.1ศาลพิจารณาคำร้องขอตามมาตรา 32 
3.1.3.2ศาลพิจารณาคำร้องขอตามมาตรา 33
3.2 ผลของการเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ
3.2.1การอยู่ในความพิทักษ์
3.2.2ผู้ที่จะเป็นผู้พิทักษ์และอำนาจหน้าที่ 
3.2.3กิจการที่คนเสมือนไร้ความสามารถต้องได้รับความยินยอม ตามมาตรา 34
 3.3 การเพิกถอนคำสั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ
4.การคุ้มครองบุคคลวิกลจริตตามมาตรา 30
 4.1มีการทำนิติกรรมขณะที่จริตวิกล
 4.2คู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งได้รู้ว่าผู้กระทำเป็นคนวิกลจริต
5.ผลของการทำนิติกรรมโดยผู้ที่ถูกจำกัดความสามารถตามกฎหมายบรรณานุกรม
 
ภาคผนวก
 
-ตัวอย่างคำสั่งศาลให้เป็นคนไร้ความสามารถ
-ตัวอย่างคำสั่งศาลให้เพิกถอนจากการเป็นคนไร้ความสามารถ
-ตัวอย่างคำสั่งศาลให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ
-ตัวอย่างคำสั่งศาลให้เพิกถอนจากการเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ
-ตัวอย่างคำสั่งศาลให้เป็นคนสาบสูญ
-ตัวอย่างคำสั่งศาลให้เพิกถอนจากการเป็นคนสาบสูญ
-ประกาศแพทย์สภาที่ 7/2554 เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการวินิจฉัยสมองตาย
-คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 21/2546 เรื่อง ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 198 กรณี พระราชบัญญัติชื่อบุคคล พศ 2505
 มาตรา 12 มีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
-พระราชบัญญัติชื่อบุคคล พศ 2505
-พระราชบัญญัติชื่อบุคคล (ฉบับที 2) พศ 2530
-พระราชบัญญัติชื่อบุคคล (ฉบับที 3) พศ 2548
-คำพิพากษาฎีกาที่ 4200/2559 (วินิจฉัยเรื่องสมองตาย)

ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "http://www.attorney285.com/product_571705_th


**** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** 

**** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** 
วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่  http://www.attorney285.co.th/how2order 

*** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ *** 

1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ 
2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น) 
3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน 


เว็บไซต์ http://www.Attorney285.co.th 
Facebook http://www.facebook.com/attorney285.Law 



อีเมล attorney285@gmail.com 
โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน) 
มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน) 
LINE ID : @attorney285   




Attorney285 (ร้านหนังสือกฎหมาย คู่มือเตรียมสอบราชการ)

บริษัท แอททอร์นีย์สองแปดห้า จำกัด

ตั้งอยู่ที่ 
เลขที่ 15 
ซ.รามคำแหง 24/3 
แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ 
กรุงเทพฯ 10240 


บริษัท จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย
จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์



จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)






บันทึกการเข้า