รับซ่อมแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์

กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก.

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
การค้นหาขั้นสูง  

ข่าว:

SMF - Just Installed!

ผู้เขียน หัวข้อ: คำอธิบายรับขนของทางทะเล ดร.ไผทชิต เอกจริยกร  (อ่าน 347 ครั้ง)

attorney285

  • บุคคลทั่วไป

คำอธิบายรับขนของทางทะเล ดร.ไผทชิต เอกจริยกร




ดูรายละเอียดเพิ่มเติมคลิกที่นี่ http://www.attorney285.com/product.detail_636063_th_6264931คำอธิบายรับขนของทางทะเล ดร.ไผทชิต เอกจริยกร
ผู้แต่ง : ดร.ไผทชิต เอกจริยกร
ปีที่พิมพ์: ครั้งที่ 4 : พฤษภาคม 2560
จำนวนหน้า: 558 หน้า
ขนาด : มาตราฐาน 18.5x26
รูปแบบ : ปกอ่อน
 
สารบัญ 
 
คำนำ 
1.  ความเบื้องต้น 
2.  อนุสัญญาระหว่างประเทศที่เกี่ยวกับการรับขนของทะเล 
2.1  แนวความคิดในการจัดทำอนุสัญญานะหว่างประเทศเกี่ยวกับการรับขนของทางทะเล
2.2  อนุสัญญาระหว่างประเทศที่มีผลบังคับใช้อยู่ในปัจจุบัน 
2.2.1  อนุสัญญาว่าด้วยการทำให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันซึ่งกฎเกณฑ์บางประการ ของกฎหมายเกี่ยวใบตราลงวันที่ 25 สิงหาคม 1924 (Hague Rules 1924) (ที่ถูกแก้ไขในปี ค.ศ 1968 และ ค.ศ1979)
         (Hague - Visby Rules 1968,1979) 
2.2.1.1  ประวัติและความเป็นมาของอนุสัญญา 
2.2.1.2  การบังคับใช้อนุสัญญา 
2.2.1.3  สาระสำคัญของอนุสัญญา 
2.2.2  อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการรับขนของทางทะเล  ลงวันที่ 30 มีนาคม ค.ศ.1978  (Hamburg Rules 1978)
2.2.2.1  ปะวัติและความเป็นมาของอนุสัญญา
2.2.2.2  การบังคับใช้อนุสัญญา 
2.2.2.3  สาระสำคัญของอนุสัญญา 
2.2.3  อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสัญญาเพื่อการขนส่งระหว่างประเทศทางทะเลทั้งหมดหรือบางส่วน ค.ศ. 2009 ( Rotterdam Rules) 
2.2.3.1  ประวัติและความเป็นมาของอนุสัญญา 
2.2.3.2  การบังคับใช้อนุสัญญา 
2.2.3.3  สาระสำคัญของอนุสัญญา 
3.  กฎหมายไทยในช่วงก่อนการบังคับใช้พระราชบัญัติการรับขนของทางทะเล พ.ศ.2534
4.  พระราชบัญญัติการรับขนของทางทะเล พ.ศ.2534
4.1  ความทั่วไป 
4.2  สาระสำคัญของพระราชบัญญัติการรับขนของทางทะเล พ.ศ 2534
4.2.1  ชื่อของพระราชบัญญัติ 
4.2.2  วันที่พระราชบัญญัติมีผลบังคับใช้ 
4.2.3  คำจำกัดความถ้อยคำบางคำในพระราชบัญญัติ 
ก.  ผู้ขนส่ง 
ข.  ผู้ขนส่งอื่น 
ค.  ผู้ส่งของ 
ง.  ผู้รับตราส่ง 
จ.  ของ 
ฉ.  ภาชนะขนของ
ช.  หน่วยการขนส่ง 
ซ.  สัญญารับขนของทางทะเล 
ฌ.  อุปกรณืแห่งค่าระวาง
ญ.  ใบตราส่ง 
4.2.4  ขอบเขตการบังคับใช้พระราชบัญญัติ 
4.2.4.1  พระราชบัญญัติ การรับขนของทางทะเล พ.ศ.2534 จะใช้บังคับแก่การขนส่งทางทะเลที่มีลักษณะระหว่างประเทศ 
4.2.4.2  สัญญาว่าจ้างเหมาระวางบรรทุกของเรือ (Charter party) ไม่ตกอยู่ภายใต้บังคับของพระราชบัญญัติ 
4.2.4.3  พระราชบัญญัติ การรับขนของทางทะเล พ.ศ.2534 ใช้เฉพาะแก่การขนส่งของทางทะเลเท่านั้น ไม่ใช้แก่การขนส่งโดยทางอื่น 
4.2.5  ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติ 
4.2.6  หน้าที่และสิทธิของผู้ขนส่ง 
4.2.6.1  หน้าที่จะต้องทำให้เรืออยู่ในสภาพที่สามารถเดินทะเลได้อย่างปลอดภัย (Seaworthiness)
4.2.6.2  หน้าที่ต้องใช้ความระมัดระวังและปฎิบัติการให้ในเรื่องต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการขนส่ง 
4.2.6.3  หน้าที่ไม่บรรทุกของบนปากระวางเรือ (On deck)  
4.2.6.4  หน้าที่ออกใบตราส่ง (Bill of lading)
4.2.6.5  หน้าที่บอกกล่าวแก่ผู้รับตราส่งเมื่อของได้ถึงที่หมายปลายทาง
4.2.6.6  หน้าที่ส่งมอบของที่ขนส่ง 
4.2.6.7  สิทธิของผู้ขนส่ง 
1)  สิทธิของผู้ขนส่งที่จะได้รับค่าระวางพาหนะ  (Freight)
ก.  จำนวนค่าระวางที่จะได้รับ
ข.  ผู้มีหน้าที่ชำระค่าระวาง
ค.  ผู้ขนส่งมีสิทธิจะได้รับค่าระวางพาหนะเมื่อใด 
2)  ผู้ขนสงมีสิทธิยึดหน่วงของไว้ (Right of retention)
4.2.7  ใบตราส่ง (Bill of lading)
4.2.7.1  รายการที่พึงมีในใบตราส่ง 
4.2.7.2  ผลของการที่ใบตราส่งมีรายการไม่ครบ 
4.2.7.3  การบันทึกข้อสงวนเกี่ยวกับของ 
ก.  รายละเอียดเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปแห่งของเครื่องหมายที่จำเป็น เพื่อบ่งตัวของจำนวนหน่วยการขนส่งหรือปริมาณอย่างอื่น 
ข.  สภาพภายนอกแห่งของนั้น 
ค.  คำรับรองหรือข้อตกลงว่าผู้ส่งของยินยอมใช้ค่าเสียหายอันเกิดจากออกใบตราส่งโดยไม่มีการบันทึกข้อสงวน 
4.2.7.4  ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ขนส่งกับผู้รับตราส่งในกรณีที่มีการออกใบตราส่ง 
4.2.7.5  การโอนฝบตราส่ง
4.2.7.6  การรับของเมื่อมีการออกใบตราส่ง 
4.2.8  หน้าที่ ความรับผิดและสิทธิของผู้ส่งของและผู้รับตราส่ง 
4.2.8.1   ความรับผิดเนื่องจากผู้ส่งของมิได้ปฎิบัติตามกฎหมายหรือประเพณีทางการค้าเกี่ยวกับการส่งของนั้น 
4.2.8.2  ความรับผิดเพื่อความไม่ถูกต้อง ของข้อความเกี่ยวกับรายละเอียดเเห่งของ 
4.2.8.3  หน้าที่ทำเครื่องหมาย ปิดป้าย และแจ้งให้ผู้ขนส่งทราบในกรณีที่เป็นของอันตราย (Dangerous goods) 
4.2.8.4  สิ่งที่ผู้ขนส่งจะต้องกระทำในกรณีที่ได้รับความเสียหาย
4.2.8.5  สิทธิของผู้ส่งของ 
4.2.8.6  หน้าที่ สิทธิและความรับผิดของผู้ตราส่ง 
4.2.9  ความรับผิดของผู้ขนส่ง 
4.2.9.1  ประเภทของความเสียหายที่ผู้ขนส่งจะต้องรับผิด
4.2.9.2  จุดเริ่มต้นและสิ้นสุดของความรับผิดของผู้ขนส่ง 
4.2.9.3  ระบบความรับผิดหรือพื้นฐานความรับผิดของผู้ขนส่ง
4.2.9.4  ความรับผิดเพื่อผู้ขนส่งอื่น 
4.2.10  ข้อยกเว้นความรับผิดของผู้ขนส่ง
4.2.10.1  ข้อยกเว้นเกี่ยวกับการที่เรือไม่อยู่ในสภาพที่จะเดินทะเลได้อย่างปลอดภัย (Unseaworthiness)
4.2.10.2  เหตุสุดวิสัย (Force majeure)
4.2.10.3  ภยันตรายหรืออุบัติเหตุแห่งท้องทะเลหรือน่านน้ำที่ใช้เดินเรือได้ 
4.2.10.4  การสงครามหรือการสู้รบของกองกำลังติดอาวุธ
4.2.10.5  สงครามกลางเมือง  การจลาจล การก่อการร้าย หรือการก่อการวุ่นวายในบ้านเมือง
4.2.10.6  การยึด การจับ การหน่วงเหนี่ยวหรือการแทรกแซง ด้วยประการใดๆ ซึ่งกระทำต่อเรือ 
4.2.10.7  การใช้มาตรการป้องกันและปราบปรามโรคติดต่อ 
4.2.10.8  การนัดหยุดงาน การปิดงานงดจ้าง การผละงาน หรือการจงใจทำงานล่าช้าที่ท่าเรือ 
4.2.10.9  การกระทำของโจรสลัด (Pirate)
4.2.10.10  ความผิดของผู้ส่งของหรือผู้รับตราส่ง 
4.2.10.11  สภาพแห่งของนั้นเอง (Vice of the goods)
4.2.10.12  ความชำรุดบกพร่องของเรือที่แฝงอยู่ 
4.2.10.13  ความผิดพลาดในการเดินเรืออันเกิดจากความบกพร่อง  ในการปฏิบัติหน้าที่ หรือตามคำสั่งของผู้นำร่อง
4.2.10.14  เหตุอื่นใดที่มิใช่ความผิดหรือประมาทเลินเล่อหรืออยู่ในความรู้เห็นของผู้ขนส่ง และมิใช่ความผิด หรือประมาทเลินเล่อของตัวแทน หรือลูกจ้างของผู้ขนส่ง 
4.2.10.15  อัคคีภัย (Fire)
4.2.10.16  มาตรการที่ใช้ระงับดับไฟ หลีกเลี่ยงหรือบรรเทาความเสียหาย
4.2.10.17  การช่วยเหลือกู้ภัยทางทะเล (Salvage)
4.2.10.18  การขนส่งสัตว์มีชีวิต (Live animals)
4.2.10.19  ของมีค่า (Precious goods)
4.2.11  การจำกัดความรับผิดของผู้ขนส่ง 
4.2.11.1  สิทธิในการจำกัดความรับผิดและจำนวนเงินความรับผิด 
4.2.11.2  การคำนวณราคาของที่สูญหายหรือเสียหายเพื่อการจำกัดความรับผิด
4.2.11.3  เหตุตัดสิทธิในการจำกัดความรับผิดของผู้ขนส่ง
4.2.12  ข้อตกลงหรือข้อกำหนดในสัญญารับขนของทางทะเล ที่ขัดต่อพระราชบัญญัติ การรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534
4.2.13  ความระงับของสัญญารับขนของทางทะเล 
4.2.14  อายุความในการฟ้องร้องคดี 
4.2.15  การแจ้งให้ผู้ขนส่งทราบว่ามีของสูญหาย หรือเสียหาย 
5.  ร่างพระราชบัญญัติการรับขนของทางทะเล (ฉบับที่ ...) พ.ศ. ...
บรรณานุกรม 
ภาคผนวก
-พระราชบัญญัติการรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534
-ร่างพระราชบัญญัติการรับขนของทางทะเล (ฉบับที่ ...) พ.ศ. ...
-Hague Rules 1924,Hague - Visby Rules
-Hambung Rules
-Rotterdam Rules

ดูรายละเอียด เล่มอื่น ที่นี่ "http://www.attorney285.com/product_636063_th


*** จัดส่งไปรษณีย์ทุกวัน **** 

**** ต้องการด่วน !! สั่งผ่านเว็บได้เลย**** 
วิธีการสั่งซื้อและ บัญชีธนาคารสำหรับโอนเงินคลิกที่นี่  http://www.attorney285.co.th/how2order 

*** สั่งซื้อง่ายๆ ดังนี้ *** 

1. โอนเงิน ค่าหนังสือ + ค่าจัดส่งที่ต้องการ 
2. แจ้งการโอนเงิน พร้อมชื่อที่อยู่สำหรับจัดส่ง ทางโทรศัพท์, อีเมล, Line, (ทางใดทางหนึ่งเท่านั้น) 
3. รอรับคู่มือสอบได้ที่บ้าน 


เว็บไซต์ http://www.Attorney285.co.th 
Facebook http://www.facebook.com/attorney285.Law 



อีเมล attorney285@gmail.com 
โทรศัพท์ 02-718-3517 (ทุกวัน) 
มือถือ Dtac 086-774-8337 Ais 087-999-3997 (ทุกวัน) 
LINE ID : @attorney285   




Attorney285 (ร้านหนังสือกฎหมาย คู่มือเตรียมสอบราชการ)

บริษัท แอททอร์นีย์สองแปดห้า จำกัด

ตั้งอยู่ที่ 
เลขที่ 15 
ซ.รามคำแหง 24/3 
แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ 
กรุงเทพฯ 10240 


บริษัท จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย
จดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์



จากปากซอย 50 ม. อยู่ซ้ายมือ (ใกล้ สน.หัวหมาก, ม.รามคำแหง, ม.อัสสัมชัญ หัวหมาก ABAC, การกีฬาแห่งประเทศไทย)


บันทึกการเข้า