1
อื่น ๆ / เตียงไฟฟ้า,เตียงผู้ป่วยไฟฟ้า ควบคุมด้ว&
« เมื่อ: ตุลาคม 25, 2019, 07:53:29 AM »
เตียงไฟฟ้า,เตียงผู้ป่วยไฟฟ้า ควบคุมด้วยรีโมทคอนโทรล มีอะไหล่ มอเตอร์ รีโมท และศูนย์ซ่อมครบถ้วน มีหลากหลายระดับมากมายให้เลือก
ทำไมเราถึงจะต้องใช้เตียงสำหรับผู้ป่วยไฟฟ้า? เตียงผู้ป่วยที่สามารถปรับท่าทางต่างๆ เพื่ออำนวยความสะดวกในการใช้ชีวิต จึงเป็นตัวช่วยที่ทำให้ผู้สูงอายุ และผู้ป่วย สามารถใช้ชีวิตได้ง่ายขึ้น แต่จะซื้อเตียงผู้ป่วยสักเตียง ต้องดูจากอะไรบ้าง เราขอแนะนำวิธีเลือกซื้อเตียงผู้ป่วยหรือเตียงผู้สูงอายุ ที่สามารถปรับท่าทางได้ประเภทต่างๆ เพื่อให้นำไปใช้ประกอบการตัดสินใจ ซื้อเตียงผู้ป่วย ได้ด้วยตนเอง
เตียงผู้ป่วยไฟฟ้า คือเตียงที่ถูกออกแบบให้สามารถรองรับการใช้งานจากผู้ป่วย จึงมีกลไกต่างๆที่ถูกติดตั้งมา อาทิเช่น กลไกด้านการปรับตำแหน่งของผู้ป่วยให้นั่งหรือนอน กลไกการปรับความสูงของเตียง กลไกการปรับหัวหรือท้ายของเตียงให้มีองศาที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง ซึ่งก็เป็นการสร้างความสะดวกสบายให้กับผู้ป่วยและคนดูแล สำหรับผู้สูงอายุรวมถึงผู้ป่วย ที่ร่างกายยังไม่แข็งแรงพอที่จะช่วยเหลือตัวเองได้ การนอนเตียงธรรมดา อาจทำให้ไม่สามารถใช้ชีวิตได้เหมือนปกติทั่วไปซึ่งอาจจะทำให้เกิดอันตรายได้ แต่ถ้าเป็นเตียงผู้ป่วยก็น่าจะสะดวกสบายและป้องกันอันตรายทีจะเกิดขึ้นน่าจะดีกว่า
เตียงผู้ป่วยจะแบ่งประเภทเตียงผู้ป่วยตามการควบคุมและความสามารถในการปรับท่าทาง
แบ่งตามความสามารถในการปรับท่าทาง เตียงผู้ป่วยจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
- เตียงผู้ป่วยมือหมุน เตียงที่ควบคุมการปรับท่าต่างๆด้วยเพลาแบบมือหมุน ซึ่งจะมีจำนวนเพลาบริเวณปลายเตียงตามจำนวนท่าของเตียงที่ปรับได้
- เตียงผู้ป่วยไฟฟ้า ที่ปรับท่าต่างๆด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าและควบคุมการปรับท่าผ่านรีโมทคอนโทรล หรือแผงควบคุม
แบ่งประเภทตามความสามารถตามการควบคุมเตียงผู้ป่วยจะถูกแบ่งออกเป็น 5 ประเภท
1 ไกร์ : ปรับพนักพิงหลัง
2 ไกร์ : ปรับพนักพิงหลัง และท่าชันเข่า
3 ไกร์ : ปรับพนักพิงหลัง ท่าชันเข่า และระดับความสูง-ต่ำของเตียง
4 ไกร์ : ปรับพนักพิงหลัง ท่าชันเข่า ระดับความสูง-ต่ำของเตียง และท่าหัวสูง-เท้าต่ำ
5 ไกร์ : ปรับพนักพิงหลัง ท่าชันเข่า ระดับความสูง-ต่ำของเตียง ท่าหัวสูง-เท้าต่ำ และท่าหัวต่ำ-เท้าสูง
ทั้งนี้ จำนวนไกร์ = จำนวนท่าที่ปรับได้ แต่ท่าทางที่ปรับได้ขึ้นอยู่กับผู้ผลิต เช่น เตียงผู้ป่วย ประเภท 2 ไกร์ อาจจะปรับได้ในส่วนของท่าสูง-ต่ำ และพนักพิงหลัง
การดูแลรักษาและซ่อมบำรุงเตียงผู้ป่วย
-อ่านคู่มืออย่างระมัดระวัง (ถ้ามี) การประกอบและติดตั้งเตียงผู้ป่วยปกติจะทำโดยช่างเทคนิค เมื่อรับเตียงผู้ป่วยไฟฟ้าที่สั่งมา ควรตรวจสอบส่วนประกอบที่มาด้วยว่าครบถ้วนหรือไม่ มีส่วนใดชำรุดหรือเสียหรือไม่
-การทำความสะอาด ชิ้นส่วนใหญ่ของเตียงผู้ป่วยไฟฟ้าสามารถทำความสะอาดได้โดยใช้สบู่อ่อนและน้ำอุ่น โปรดระมัดระวังไม่ให้น้ำเข้าไปในชิ้นส่วนที่เป็นไฟฟ้า เช็ดให้แห้งหลังจากล้างทำความสะอาด
-การดูแลรักษา หมั่นตรวจสอบเช็คชิ้นส่วนเตียงผู้ป่วยไฟฟ้าเป็นประจำ เพื่อตรวจสอบว่ามีจุดไหนได้รับความเสียหายหรือไม่ เช่น ส่วนของฟูก ส่วนของไกร์เตียง ส่วนของรีโมทคอนโทรล เป็นต้น หากพบจุดที่ชำรุดหรือเสียหาย ให้ติดต่อผู้ขาย
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
คุณ เจษฏา Tel: 095-706-7729, 087-924-1840
ร้านแสงชัยอุปกรณ์การแพทย์
ถนนเลียบคลองสอง แขวงบางชัน
เขตคลองสามวา กรุงเทพฯ 10510
Tel: 095-706-7729, 087-924-1840
E-mail: sangchaimed@gmail.com
Website: https://www.เตียงไฟฟ้า.net
Website: https://www.xn--72c1a5aam3hqa0gub0c.net
Keyword: เตียงไฟฟ้า เตียงผู้ป่วยไฟฟ้า
ทำไมเราถึงจะต้องใช้เตียงสำหรับผู้ป่วยไฟฟ้า? เตียงผู้ป่วยที่สามารถปรับท่าทางต่างๆ เพื่ออำนวยความสะดวกในการใช้ชีวิต จึงเป็นตัวช่วยที่ทำให้ผู้สูงอายุ และผู้ป่วย สามารถใช้ชีวิตได้ง่ายขึ้น แต่จะซื้อเตียงผู้ป่วยสักเตียง ต้องดูจากอะไรบ้าง เราขอแนะนำวิธีเลือกซื้อเตียงผู้ป่วยหรือเตียงผู้สูงอายุ ที่สามารถปรับท่าทางได้ประเภทต่างๆ เพื่อให้นำไปใช้ประกอบการตัดสินใจ ซื้อเตียงผู้ป่วย ได้ด้วยตนเอง
เตียงผู้ป่วยไฟฟ้า คือเตียงที่ถูกออกแบบให้สามารถรองรับการใช้งานจากผู้ป่วย จึงมีกลไกต่างๆที่ถูกติดตั้งมา อาทิเช่น กลไกด้านการปรับตำแหน่งของผู้ป่วยให้นั่งหรือนอน กลไกการปรับความสูงของเตียง กลไกการปรับหัวหรือท้ายของเตียงให้มีองศาที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง ซึ่งก็เป็นการสร้างความสะดวกสบายให้กับผู้ป่วยและคนดูแล สำหรับผู้สูงอายุรวมถึงผู้ป่วย ที่ร่างกายยังไม่แข็งแรงพอที่จะช่วยเหลือตัวเองได้ การนอนเตียงธรรมดา อาจทำให้ไม่สามารถใช้ชีวิตได้เหมือนปกติทั่วไปซึ่งอาจจะทำให้เกิดอันตรายได้ แต่ถ้าเป็นเตียงผู้ป่วยก็น่าจะสะดวกสบายและป้องกันอันตรายทีจะเกิดขึ้นน่าจะดีกว่า
เตียงผู้ป่วยจะแบ่งประเภทเตียงผู้ป่วยตามการควบคุมและความสามารถในการปรับท่าทาง
แบ่งตามความสามารถในการปรับท่าทาง เตียงผู้ป่วยจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
- เตียงผู้ป่วยมือหมุน เตียงที่ควบคุมการปรับท่าต่างๆด้วยเพลาแบบมือหมุน ซึ่งจะมีจำนวนเพลาบริเวณปลายเตียงตามจำนวนท่าของเตียงที่ปรับได้
- เตียงผู้ป่วยไฟฟ้า ที่ปรับท่าต่างๆด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าและควบคุมการปรับท่าผ่านรีโมทคอนโทรล หรือแผงควบคุม
แบ่งประเภทตามความสามารถตามการควบคุมเตียงผู้ป่วยจะถูกแบ่งออกเป็น 5 ประเภท
1 ไกร์ : ปรับพนักพิงหลัง
2 ไกร์ : ปรับพนักพิงหลัง และท่าชันเข่า
3 ไกร์ : ปรับพนักพิงหลัง ท่าชันเข่า และระดับความสูง-ต่ำของเตียง
4 ไกร์ : ปรับพนักพิงหลัง ท่าชันเข่า ระดับความสูง-ต่ำของเตียง และท่าหัวสูง-เท้าต่ำ
5 ไกร์ : ปรับพนักพิงหลัง ท่าชันเข่า ระดับความสูง-ต่ำของเตียง ท่าหัวสูง-เท้าต่ำ และท่าหัวต่ำ-เท้าสูง
ทั้งนี้ จำนวนไกร์ = จำนวนท่าที่ปรับได้ แต่ท่าทางที่ปรับได้ขึ้นอยู่กับผู้ผลิต เช่น เตียงผู้ป่วย ประเภท 2 ไกร์ อาจจะปรับได้ในส่วนของท่าสูง-ต่ำ และพนักพิงหลัง
การดูแลรักษาและซ่อมบำรุงเตียงผู้ป่วย
-อ่านคู่มืออย่างระมัดระวัง (ถ้ามี) การประกอบและติดตั้งเตียงผู้ป่วยปกติจะทำโดยช่างเทคนิค เมื่อรับเตียงผู้ป่วยไฟฟ้าที่สั่งมา ควรตรวจสอบส่วนประกอบที่มาด้วยว่าครบถ้วนหรือไม่ มีส่วนใดชำรุดหรือเสียหรือไม่
-การทำความสะอาด ชิ้นส่วนใหญ่ของเตียงผู้ป่วยไฟฟ้าสามารถทำความสะอาดได้โดยใช้สบู่อ่อนและน้ำอุ่น โปรดระมัดระวังไม่ให้น้ำเข้าไปในชิ้นส่วนที่เป็นไฟฟ้า เช็ดให้แห้งหลังจากล้างทำความสะอาด
-การดูแลรักษา หมั่นตรวจสอบเช็คชิ้นส่วนเตียงผู้ป่วยไฟฟ้าเป็นประจำ เพื่อตรวจสอบว่ามีจุดไหนได้รับความเสียหายหรือไม่ เช่น ส่วนของฟูก ส่วนของไกร์เตียง ส่วนของรีโมทคอนโทรล เป็นต้น หากพบจุดที่ชำรุดหรือเสียหาย ให้ติดต่อผู้ขาย
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
คุณ เจษฏา Tel: 095-706-7729, 087-924-1840
ร้านแสงชัยอุปกรณ์การแพทย์
ถนนเลียบคลองสอง แขวงบางชัน
เขตคลองสามวา กรุงเทพฯ 10510
Tel: 095-706-7729, 087-924-1840
E-mail: sangchaimed@gmail.com
Website: https://www.เตียงไฟฟ้า.net
Website: https://www.xn--72c1a5aam3hqa0gub0c.net
Keyword: เตียงไฟฟ้า เตียงผู้ป่วยไฟฟ้า