รับซ่อมแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์

กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก.

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
การค้นหาขั้นสูง  

ข่าว:

SMF - Just Installed!

แสดงกระทู้

This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.

Messages - itroom0016

หน้า: [1] 2 3
1
อื่น ๆ / โรคหัวใจ (Heart Disease)
« เมื่อ: กรกฎาคม 08, 2018, 04:58:36 AM »
โรคหัวใจ (Heart Disease) หมายถึง โรคต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการทำงานของหัวใจ โดยโรคหัวใจสามารถแบ่งย่อยได้เป็นหลายกลุ่มโรค เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคกล้ามเนื้อหัวใจ โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคลิ้นหัวใจ โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด และโรคติดเชื้อบริเวณหัวใจ เป็นต้น
[img width=600,height=400]https://i0.wp.com/www.108news.net/wp-content/uploads/2018/07/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B9%83%E0%B8%88.jpg[/img]
 
จากข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขในช่วงปี พ.ศ. 2555-2558 อัตราผู้ป่วยโรคหัวใจในประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในปีพ.ศง 2557 มีผู้เสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือดจำนวน 58,681 คน หรือโดยเฉลี่ยถึงชั่วโมงละ 7 คน และยังมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ
ทั้งนี้สาเหตุสำคัญของโรคหัวใจ โดยเฉพาะโรคหลอดเลือดหัวใจนั้นมักเกิดจากปัจจัยเสี่ยงด้านพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่สามารถป้องกันได้ เช่น การสูบหรือสูดดมควันบุหรี่ การรับประทานอาหารบางประเภท เช่น อาหารไขมันสูง อาหารหวาน และอาหารเค็มที่ควรหลีกเลี่ยง นอกจากนี้ยังควรควบคุมน้ำหนัก รวมถึงหมั่นตรวจสุขภาพวัดระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดเป็นประจำ
อาการของโรคหัวใจ
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในส่วนของหัวใจที่ต่างกัน ทำให้โรคหัวใจมีอาการต่างกันไปในแต่ละชนิด
  • โรคหลอดเลือดหัวใจ มักส่งผลให้มีอาการเจ็บหรือแน่นหน้าอก ร้าวไปตามกราม แขน ลำคอ ท้อง หรือบริเวณหลัง และบางครั้งอาจมีอาการเหนื่อย อ่อนเพลีย ไม่มีแรง หรือหมดสติได้[/*]
  • โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ มีอาการผิดปกติของจังหวะการเต้นของหัวใจ อาจเต้นเร็วผิดปกติ ช้าผิดปกติ หรือเต้นไม่สม่ำเสมอ ทำให้รู้สึกใจสั่น แต่บางครั้งอาจแสดงอาการเหนื่อยง่าย แน่นหน้าอก เวียนศีรษะ หรือคล้ายจะเป็นลมได้เช่นกัน[/*]
  • โรคกล้ามเนื้อหัวใจ ผู้ป่วยที่มาพบแพทย์มักมีอาการเหนื่อยง่าย หายใจไม่อิ่ม และมีอาการมากขึ้นเมื่อต้องออกแรงหนัก ๆ ส่วนโรคกล้ามเนื้อหัวใจที่รุนแรงมากขึ้นจะทำให้มีอาการเหนื่อยแม้ขณะนั่งอยู่เฉย ๆ มีอาการบวมตามแขน ขา หนังตา ร่วมกับอาการอ่อนเพลีย นอนราบไม่ได้ และตื่นขึ้นมาไอในเวลากลางคืน[/*]
  • โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด เป็นโรคที่เกิดขึ้นตั้งแต่เมื่อทารกอยู่ในครรภ์มารดา โดยอาจแสดงอาการทันทีเมื่อแรกคลอด หรือแสดงอาการมากขึ้นในภายหลังก็ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค และสามารถแบ่งเป็น 2 กลุ่มหลัก ๆ คือกลุ่มที่มีอาการเขียวและกลุ่มไม่มีอาการเขียว ในกลุ่มที่มีอาการยังไม่รุนแรงมากอาจสังเกตได้ในภายหลัง เช่น เหนื่อยง่ายเวลาออกกำลังกายหรือทำกิจกรรมเมื่อเทียบกับเด็กวัยเดียวกัน แต่ในกลุ่มที่มีอาการมากจะทำให้เลี้ยงไม่โต ทารกมีอาการเหนื่อยขณะให้นมหรือติดเชื้อทางเดินหายใจบ่อย ๆ เป็นต้น[/*]
  • โรคลิ้นหัวใจ อาการของโรคขึ้นอยู่กับความผิดปกติของลิ้นหัวใจที่เกิดขึ้น ในกลุ่มที่มีความผิดปกติเพียงเล็กน้อยอาจไม่แสดงอาการใด ๆ หรืออาจได้ยินเสียงผิดปกติจากการตรวจร่างกายเท่านั้น แต่หากมีความผิดปกติของลิ้นหัวใจมากก็จะมีอาการเหนื่อยง่าย และเกิดภาวะหัวใจวายหรือน้ำท่วมปอดได้[/*]
  • โรคติดเชื้อบริเวณหัวใจ อาการที่แสดงถึงโรคนี้ ได้แก่ มีไข้ โดยมักจะเป็นไข้เรื้อรัง อ่อนเพลีย เหนื่อยล้า หัวใจเต้นผิดปกติ หายใจหอบเหนื่อย ไอเรื้อรังแห้ง ๆ ขาหรือช่องท้องบวม รวมถึงมีผื่นหรือจุดขึ้นตามผิวหนัง[/*]
สาเหตุของโรคหัวใจ
เช่นเดียวกันกับอาการ สาเหตุของโรคหัวใจแต่ละชนิดมีที่มาต่างกัน ดังนี้
  • โรคหลอดเลือดหัวใจ สาเหตุส่วนมากเกิดจากไขมันหรือแคลเซียมที่สะสมมากขึ้นเรื่อย ๆ ในหลอดเลือดจนขัดขวางทางเดินเลือด ทำให้เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจได้ไม่เพียงพอ นอกจากนี้ยังมักมีสาเหตุมาจากปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในหลอดเลือดสูง น้ำหนักเกิน และสูบบุหรี่[/*]
  • โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ อาจเกิดขึ้นในผู้ป่วยบางรายที่เดิมมีความผิดปกติของหัวใจอยู่แล้วหรือเกิดกับคนทั่วไปที่มีหัวใจปกติก็ได้ ซึ่งสาเหตุอาจเกิดจากการถูกไฟฟ้าช็อต การใช้สารเสพติด ยา อาหารเสริมบางชนิด รวมทั้งเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และคาเฟอีน นอกจากนี้อาจเป็นความเสี่ยงจากอาการเจ็บป่วยโรคหัวใจอื่น ๆ เช่น โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคลิ้นหัวใจ หรือโรคอื่น ๆ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง[/*]
  • โรคกล้ามเนื้อหัวใจ มีสาเหตุต่างกันไปตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับกล้ามเนื้อหัวใจ โรคกล้ามเนื้อหัวใจเสื่อม อาจเกิดจากการไหลเวียนของเลือดสู่หัวใจน้อยลง การได้รับยาหรือสารพิษบางชนิด การติดเชื้อ และพันธุกรรม ส่วนโรคกล้ามเนื้อหัวใจหนามักเป็นผลจากพันธุกรรมและอายุที่มากขึ้น และโรคกล้ามเนื้อหัวใจถูกบีบรัด ที่กล้ามเนื้อหัวใจแข็งและยืดหยุ่นน้อยลง อาจเป็นผลมาจากโรคอื่น เช่น เนื้อเยื่อเกี่ยวพันผิดปกติ ภาวะธาตุเหล็กมากเกิน หรือการรักษามะเร็งด้วยเคมีบำบัด รังสีบำบัด เป็นต้น[/*]
  • โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด อาจเป็นภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์ของมารดาที่ทำให้ทารกคลอดก่อนกำหนด การใช้ยาหรือสารเสพติดบางชนิดขณะตั้งครรภ์ การติดเชื้อของมารดาระหว่างตั้งครรภ์ รวมทั้งอาจเกิดจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรมก็ได้[/*]
  • โรคลิ้นหัวใจ สามารถเกิดขึ้นได้ในผู้ที่มีลิ้นหัวใจผิดปกติหรือทำงานบกพร่องมาแต่กำเนิด หรือเป็นโรคแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคอื่น ๆ เช่น ไข้รูมาติก เยื่อบุหัวใจอักเสบ หรือเนื้อเยื่อเกี่ยวพันผิดปกติ[/*]
  • โรคติดเชื้อบริเวณหัวใจ เกิดขึ้นได้จากการติดเชื้อไวรัส แบคทีเรีย หรือปรสิต รวมทั้งการทำหัตถการทางการแพทย์ การใช้สารเสพติด และมีการเหนี่ยวนำให้เกิดการติดเชื้อที่บริเวณหัวใจตามมา[/*]
การวินิจฉัยโรคหัวใจ
แพทย์มักเริ่มด้วยการตรวจร่างกายเบื้องต้น สอบถามอาการ ประวัติการเจ็บป่วย รวมถึงบุคคลในครอบครัวที่เคยป่วยเป็นโรคหัวใจ จากนั้นจึงพิจารณาความเป็นไปได้แล้วเลือกวิธีวินิจฉัยขั้นต่อไป ซึ่งอาจเป็นการตรวจเลือด เอกซเรย์หน้าอก ตรวจหัวใจด้วยเครื่อง CT Scan หรือ MRI ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ตรวจบันทึกการทำงานของหัวใจ หรือตรวจด้วยการสวนหลอดเลือดหัวใจ ตามข้อบ่งชี้ทางการแพทย์
การรักษาโรคหัวใจ
การรักษาโรคหัวใจจะรักษาตามสาเหตุที่ตรวจพบและรักษาตามอาการที่ผู้ป่วยเป็นในขณะนั้น เช่น การทำหัตถการสวนหัวใจ การผ่าตัดหัวใจ ร่วมกับการใช้ยารักษา รวมถึงการให้คำแนะนำในการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ เช่น เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง การสูบบุหรี่ ความเครียด และเพิ่มการออกกำลังกาย การปรับพฤติกรรมการบริโภคโดยแนะนำให้ลดอาการเค็ม อาหารหวาน และอาหารที่มีไขมันสูง
ภาวะแทรกซ้อนของโรคหัวใจ
โรคหัวใจชนิดต่าง ๆ อาจนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนที่แตกต่างกัน ภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยที่สุด คือ หัวใจล้มเหลว เกิดขึ้นได้จากโรคหัวใจทุกชนิด ส่วนภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ อาจขึ้นอยู่กับโรคหัวใจที่ผู้ป่วยเป็นด้วย เช่น โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ อาจทำให้เกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นเฉียบพลัน ส่วนกลุ่มโรคหลอดเลือดหัวใจอาจตามมาด้วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน โรคหลอดเลือดในสมองขาดเลือด โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบ และโรคหลอดเลือดแดงโป่งพอง ซึ่งภาวะแทรกซ้อนเหล่านี้สามารถนำไปสู่การเสียชีวิตอย่างฉับพลันได้
การป้องกันโรคหัวใจ
การป้องกันโรคหัวใจด้วยตนเองทำได้โดยปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และหมั่นตรวจร่างกายเพื่อควบคุมระดับความดันและไขมันในเลือดเป็นประจำ การรับประทานอาหารและออกกำลังกายเป็นสิ่งสำคัญ ควรเน้นผัก ผลไม้ ธัญพืช ลดปริมาณไขมัน โซเดียม และน้ำตาลให้น้อย หมั่นออกกำลังกาย ควบคุมน้ำหนัก หยุดสูบบุหรี่ นอกจากนี้ ความเศร้าและความเครียดก็อาจเป็นปัจจัยการเกิดโรคหัวใจได้ จึงควรพยายามผ่อนคลายให้มาก รวมทั้งรักษาสุขอนามัยให้ถูกต้องอยู่เสมอเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อบริเวณหัวใจ

เครดิต : https://www.108news.net/news/2103[/color]

2
อื่น ๆ / Re: นกเขาไม่ขัน (Erectile Dysfunction)
« เมื่อ: กรกฎาคม 08, 2018, 04:26:15 AM »
นกเขาไม่ขัน (Erectile Dysfunction) หรือ หย่อนสมรรถภาพทางเพศชาย คือ ภาวะที่อวัยวะเพศชายไม่สามารถแข็งตัวได้ตามป
กติ ซึ่งเกิดได้จากทั้งสาเหตุทางด้านร่างกายและจิตใจ หรือปัจจัยอื่น ๆ เช่น โรคหลอดเลือด โรคทางระบบประสาท ภาวะขาดฮอร์โมนเพศชาย โรคเครียด โรคซึมเศร้า หรืออาจเกิดจากความขัดแย้งระหว่างคู่รัก จนส่งผลถึงสภาพจิตใจ รวมไปถึงการดื่มเหล้า สูบบุหรี่ หรือการใช้ยาบางชนิด

http://www.chularat.com/service_detail.php?lang=th&gid=3&id=731

3
อื่น ๆ / นกเขาไม่ขัน (Erectile Dysfunction)
« เมื่อ: กรกฎาคม 07, 2018, 09:13:31 AM »
นกเขาไม่ขัน (Erectile Dysfunction) หรือ หย่อนสมรรถภาพทางเพศชาย คือ ภาวะที่อวัยวะเพศชายไม่สามารถแข็งตัวได้ตามป
กติ ซึ่งเกิดได้จากทั้งสาเหตุทางด้านร่างกายและจิตใจ หรือปัจจัยอื่น ๆ เช่น โรคหลอดเลือด โรคทางระบบประสาท ภาวะขาดฮอร์โมนเพศชาย โรคเครียด โรคซึมเศร้า หรืออาจเกิดจากความขัดแย้งระหว่างคู่รัก จนส่งผลถึงสภาพจิตใจ รวมไปถึงการดื่มเหล้า สูบบุหรี่ หรือการใช้ยาบางชนิด
[img width=600,height=400]https://i0.wp.com/www.108news.net/wp-content/uploads/2018/07/%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%82%E0%B8%B1%E0%B8%99.jpg[/img]
นอกจากนั้น ปัญหานกเขาไม่ขัน สามารถเกิดขึ้นได้กับวัยรุ่นจนถึงผู้สูงอายุ ซึ่งจะเกิดขึ้นกับประมาณครึ่งหนึ่งของผู้ที่มีอายุระหว่าง 40-70 ปี
อาการของนกเขาไม่ขัน
อาการของนกเขาไม่ขัน เกิดขึ้นเมื่ออวัยวะเพศชายไม่สามารถแข็งตัวหรือแข็งตัวได้ไม่นานพอที่จะมีเพศสัมพันธ์ อาจเกิดร่วมกับภาวะบกพร่องทางเพศอื่น ๆ เช่น มีความต้องการทางเพศลดลง มีปัญหาในการสำเร็จความใคร่ และมีความผิดปกติในการหลั่งน้ำอสุจิ เป็นต้น
หากมีสัญญาณหรืออาการของนกเขาไม่ขันหรือภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศ ดังต่อไปนี้ ควรไปพบแพทย์
  • มีความกังวลหรือรู้สึกสงสัยว่าตนเองมีภาวะนกเขาไม่ขันหรือหย่อนสมรรถภาพทางเพศ เป็นเวลากว่า 2-3 สัปดาห์[/*]
  • พบว่าตนเองมีอาการผิดปกติที่เกี่ยวกับเพศ เช่น มีปัญหาในการหลั่งน้ำอสุจิเร็วหรือช้าเกินไป[/*]
  • เป็นผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงของภาวะนกเขาไม่ขัน เช่น โรคหลอดเลือด โรคหัวใจ หรือโรคเบาหวาน รวมไปถึงปัญหาสุขภาพอื่น ๆ[/*]
สาเหตุของนกเขาไม่ขัน
สาเหตุแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ
สาเหตุทางด้านร่างกาย
นกเขาไม่ขันส่วนใหญ่จะมีสาเหตุ คือโรคประจำตัว เช่น โรคหัวใจ โรคหลอดเลือด โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง คอเลสเตอรอลสูง โรคอ้วน หรือโรคพาร์กินสัน และ ภาวะนกเขาไม่ขัน เป็นเพียงปลายเหตุ
นอกจากนั้น ยังสามารถเกิดได้จากผลข้างเคียงจากการรักษาโรคหรือการใช้ยาบางชนิด เช่น ยารักษาโรคซึมเศร้า หรือยาแก้แพ้ รวมไปถึงการสูบบุหรี่ ดื่มเหล้าหนัก ร่างกายอ่อนล้า หรือมีความผิดปกติเกี่ยวกับการนอนหลับ เป็นต้น
สาเหตุทางด้านจิตใจ
สมองมีบทบาทสำคัญในการกระตุ้นทำให้เกิดการแข็งตัวของอวัยวะเพศชาย หรือกระตุ้นให้เกิดอารมณ์ทางเพศ ซึ่งภาวะทางจิตใจบางอย่างที่ไปขัดขวางหรือส่งผลด้านลบต่ออารมณ์ทางเพศ ได้แก่ ความเครียด ความวิตกกังวล ภาวะซึมเศร้า หรือภาวะสุขภาพจิตอื่น ๆ รวมไปถึงปัญหาความขัดแย้งหรือปัญหาความสัมพันธ์กับคู่ของตน
การวินิจฉัยนกเขาไม่ขัน
ในเบื้องต้นแพทย์จะซักประวัติผู้ป่วย เช่น อาการที่สำคัญ ประวัติการเจ็บป่วย โรคประจำตัว หรือยาที่ใช้อยู่ และแพทย์จะตรวจร่างกาย นอกจากนั้น หากแพทย์พบปัญหาสุขภาพอื่น ๆ อาจจำเป็นต้องได้รับการตรวจเพิ่มเติมหรืออาจต้องส่งตัวไปให้แพทย์เฉพาะทาง ซึ่งการตรวจเพิ่มเติม ได้แก่ ตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ อัลตราซาวด์ ตรวจสุขภาพจิต หรือตรวจสอบการแข็งตัวของอวัยวะเพศ
โดยส่วนใหญ่แล้ว ผู้ที่เกิดภาวะนกเขาไม่ขันมักจะมีโรคที่เป็นต้นเหตุซ่อนอยู่ จึงจำเป็นต้องมีการวินิจฉัยหาสาเหตุและปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ เพื่อให้สามารถรักษาได้อย่างตรงจุด
การรักษานกเขาไม่ขัน
การรักษานกเขาไม่ขัน หรือหย่อนสมรรถภาพทางเพศ จะขึ้นอยู่กับสาเหตุ ความรุนแรง และโรคประจำตัว เช่น หากเป็นโรคทางกาย แพทย์ก็จะรักษาสาเหตุนั้น ๆ แต่หากรักษาแล้วไม่ได้ผลแพทย์ก็จะทำการวินิจฉัยในขั้นต่อไปเพื่อหาสาเหตุที่แท้จริง และหาว่าการรักษาหรือการบำบัดชนิดใดที่เหมาะสมกับคนไข้ที่สุด
โดยในปัจจุบัน การรักษา นกเขาไม่ขัน มีหลากหลายวิธีตามความเหมาะสมและความต้องการของคนไข้แต่ละคน ได้แก่
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตประจำวัน
  • พยายามเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการใช้ชีวิตประจำวันโดยอาศัยความพยายามและความตั้งใจจริง เพื่อทำให้มีสุขภาพที่แข็งแรงขึ้น เพราะการแข็งตัวของอวัยวะเพศชายเป็นตัวบ่งชี้ถึงสุขภาพร่างกาย[/*]
  • ผู้ป่วยที่มีปัญหาน้ำหนักตัวเกิน ควรหาวิธีเพื่อลดน้ำหนัก เช่น ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอและควบคุมอาหาร เพราะปัญหาน้ำหนักตัวเกินเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดปัญหานกเขาไม่ขันหรือหย่อนสมรรถภาพทางเพศในระยะยาวได้[/*]
  • เลิกสูบบุหรี่ ลดการบริโภคเครื่องดื่มแอลกฮอล์ และไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดที่ผิดกฎหมาย ซึ่งเป็นตัวทำลายสุขภาพ เมื่อสุขภาพร่างกายแย่ลงก็เป็นปัจจัยสำคัญที่จะนำมาสู่การหย่อนสมรรถภาพทางเพศได้ในที่สุด[/*]
  • หลีกเลี่ยงหรือพยายามลดความเครียด เพราะความเครียด ความวิตกกังวล หรือภาวะซึมเศร้า เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดการหย่อนสมรรถภาพทางเพศ ดังนั้น ควรหาทางลดความเครียด หาสาเหตุที่ทำให้เครียดและพิจารณาดูว่าสามารถแก้ไขได้หรือไม่ หากไม่ได้ก็ควรขอความช่วยเหลือ เช่น เข้ารับขอคำปรึกษาจากนักจิตวิทยาหรือจิตแพทย์[/*]
  • ผู้ที่กำลังใช้ยารักษาโรคที่อาจก่อให้เกิดภาวะนกเขาไม่ขัน เช่น ยารักษาโรคซึมเศร้า (Antidepressants) หรือยาแก้แพ้ (Antihistamines) เมื่อผู้ป่วยที่ใช้ยาดังกล่าวพบว่าตนเองมีภาวะนกเขาไม่ขันอยู่ สามารถปรึกษากับแพทย์ที่ให้การรักษาโรคนั้น ๆ[/*]
รักษาด้วยยารับประทาน
ยารักษาและบำบัดอาการหย่อนสมรรถภาพทางเพศชาย พีดีอี 5 อินฮิบิเตอร์ (Phosphodiesterase-5 Inhibitors: PDE-5) ได้แก่ ยาซิลเดนาฟิล (Sildenafil) ยาทาดาลาฟิล (Tadalafil) ยาวาร์เดนาฟิล (Vardenafil) เป็นยาที่ใช้ในการบำบัดผู้ที่มีภาวะนกเขาไม่ขันหรือหย่อนสมรรถภาพทางเพศ ยาจะออกฤทธิ์ชั่วคราวในการช่วยเพิ่มการไหลเวียนโลหิตของอวัยวะเพศชาย
รับประทาน 1 เม็ด ภายใน 24 ชั่วโมง ซึ่งพบว่า 2 ใน 3 ของผู้ชายที่ใช้ยานี้มีการแข็งตัวของอวัยวะเพศที่ดีขึ้น แต้ต้องมีการเล้าโลมก่อนใช้ยา จึงจะเห็นผลดี
ยากลุ่มนี้ห้ามใช้กับผู้ที่มีปัญหากล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด (Angina) เพราะอาจต้องใช้ยากลุ่มไนเตรท (Nitrate) ในการรักษา และเมื่อต้องใช้ร่วมกับยากลุ่มพีดีอี 5 อินฮิบิเตอร์ อาจทำให้เกิดผลข้างเคียงที่รุนแรงกับหัวใจและเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ ดังนั้นผู้ป่วยที่ต้องใช้ยากลุ่มไนเตรทควรแจ้งให้แพทย์ทราบก่อน
นอกจากนั้น ควรระมัดระวังการใช้ยา สำหรับผู้ที่มีความเสี่ยงของภาวะองคชาตแข็งค้าง (Priapism)  ซึ่งเป็นภาวะที่ทำให้เกิดความเจ็บปวดเมื่ออวัยวะเพศแข็งตัว หรือผู้ที่ใช้ยาแอลฟา-บล็อกเกอร์ (Alpha-blockers) ซึ่งเป็นยาที่ทำให้หลอดเลือดขยายตัว และใช้รักษาได้หลากหลายโรคและอาการ เช่น โรคต่อมลูกหมากโต ความดันโลหิตสูง
ผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นเมื่อใช้ยากลุ่มพีดีอี 5 อินฮิบิเตอร์
  • ปวดศีรษะ และไมเกรน[/*]
  • ผิวหนังแดง[/*]
  • อาหารไม่ย่อย[/*]
  • คลื่นไส้และอาเจียน[/*]
  • คัดจมูกหรือมีน้ำมูกไหล[/*]
  • ปวดหลัง ปวดกล้ามเนื้อ[/*]
  • รบกวนทัศนวิสัยในการมองเห็น[/*]
ฮอร์โมนบำบัด
ผู้ที่มีอาการหย่อนสมรรถภาพทางเพศที่มีสาเหตุเกี่ยวกับฮอร์โมน เช่น มีระดับฮอร์โมน เพศชาย ต่ำเกินไป แพทย์อาจรักษาด้วยการฉีดฮอร์โมนสังเคราะห์ ซึ่งจะช่วยเพิ่มระดับฮอร์โมนในร่างกายให้กลับสู่ระดับปกติ
อุปกรณ์สูญญากาศหรือกระบอกสูญญากาศ
เป็นอุปกรณ์ที่แพทย์อาจแนะนำให้กับผู้ป่วยที่ใช้ยารับประทานไม่ได้ผล อุปกรณ์มีลักษณะเป็นกระบอกกลวง มีทั้งแบบใช้ถ่านและใช้แรงมือ สามารถนำอุปกรณ์นี้สวมครอบเข้าไปที่อวัยวะเพศและปั๊มเอาอากาศออกมา จะทำให้เลือดเข้าไปหล่อเลี้ยงอวัยวะเพศและทำให้อวัยวะเพศแข็งตัวนานพอที่จะมีเพศสัมพันธ์ได้
การผ่าตัดใส่แกนอวัยวะเพศเทียม
การผ่าตัดใส่แกนอวัยวะเพศ จะเป็นวิธีสุดท้ายเมื่อรักษาด้วยวิธีอื่น ๆ ไม่ได้ผล โดยส่วนใหญ่แล้วแพทย์จะไม่แนะนำวิธีนี้ เพราะอาจทำให้เกิดผลข้างเคียงที่รุนแรงเหมือนกับการผ่าตัดทั่วไป เช่น การติดเชื้อ นอกจากนั้น แกนอวัยวะเพศเทียมยังมีราคาแพงมากและต้องเป็นศัลยแพทย์ระบบปัสสาวะบางรายเท่านั้นจึงจะสามารถทำได้
การรักษาทางจิตใจ
การรักษาที่อาจได้ผลสำหรับผู้ที่มีภาวะนกเขาไม่ขันที่มีสาเหตุมาจากจิตใจ เช่น วิธีการฝึกที่เรียกว่า ‘’Sensate Focus’’ ซึ่งเป็นวิธีบำบัดทางเพศที่จะให้คู่รักเข้ามารับการบำบัดพร้อมกัน
ในระยะแรก เริ่มจากการไม่ให้คู่รักมีเพศสัมพันธ์กันเลย และไม่ให้สัมผัสกับอวัยวะเพศหรือเต้านมฝ่ายตรงข้าม ซึ่งวิธีนี้จะช่วยลดความกังวลเกี่ยวกับการสัมผัสอวัยวะเพศของผู้ชายที่มีปัญหาได้
ในระยะต่อไป จะเริ่มให้จับอวัยวะเพศและเต้านมได้แล้ว เพื่อให้เรียนรู้ว่าจะต้องกระตุ้นอารมณ์ทางเพศจากการสัมผัสอวัยวะเพศหรือเต้านมอย่างไร และเมื่อผ่านการฝึกปฏิบัติให้มีการตื่นตัวทางเพศเป็นอย่างดีแล้วจึงจะให้มีเพศสัมพันธ์กัน
สำหรับผู้ที่มีภาวะนกเขาไม่ขันที่มีสาเหตุจากภาวะซึมเศร้าหรือความวิตกกังวล สามารถพูดคุยกับผู้ให้คำปรึกษา ซึ่งจะช่วยให้สามารถพิจารณาหาสาเหตุที่แท้จริงและหาทางแก้ปัญหาต่อไปได้
นอกจากนั้น ยังมีการบำบัดรักษาทางจิตอื่น ๆ ที่จะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถเข้าใจตนเองได้มากยิ่งขึ้น เช่น การเพิ่มความมั่นใจในตัวเอง เรื่องเกี่ยวกับเพศ หรือเรื่องความสัมพันธ์กับคนรัก โดยการบำบัดด้วยการเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม (Cognitive Behavioural Therapy: CBT) เป็นการให้คู่รักเข้ามาพูดคุยเกี่ยวกับเรื่องทางเพศ อารมณ์ หรือความรู้สึกต่าง ๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อภาวะนกเขาไม่ขัน ซึ่งวิธีนี้จะช่วยให้ผู้เข้ารับบำบัดเกิดความเข้าใจในปัญหา และสามารถหาทางแก้ไขได้ในที่สุด
การรักษาด้วยสมุนไพร
อีกทางเลือกที่มีความเสี่ยงน้อยและเป็นส่วนผสมจากธรรมชาติ คือ การนำสมุนไพรมาใช้รักษานกเขาไม่ขัน ส่วนในบ้านเรามีผลิตภัณฑ์อาหารเสริมต่าง ๆ ที่มีส่วนประกอบหลักจากสมุนไพร ซึ่งได้รับการวิจัยว่าอาจช่วยในเรื่องนกเขาไม่ขัน เช่น โสมและแปะก๊วย แต่ต้องพิจารณาสรรพคุณและระมัดระวังผลข้างเคียงในการใช้สมุนไพรเหล่านี้ด้วยเช่นกัน
ภาวะแทรกซ้อนของนกเขาไม่ขัน
โดยปกติแล้วภาวะนกเขาไม่ขันจะไม่มีความรุนแรงหรือภาวะแทรกซ้อนใด ๆ แต่อาจส่งผลทางด้านจิตใจและความสัมพันธ์ เช่น
  • หากอาการหย่อนสมรรถภาพทางเพศไม่ได้รับการแก้ไขอย่างถูกต้อง อาจทำให้เกิดความเครียดและความวิตกกังวลตามมา[/*]
  • เมื่อได้รับประสบการณ์ทางเพศที่ไม่ดี อาจนำมาสู่ความเครียดหรือภาวะซึมเศร้าได้ในที่สุด ซึ่งจะทำให้ผู้ป่วยเสียความมั่นใจหรือเกิดความไม่สบายใจ[/*]
  • อาจทำให้มีปัญหาความขัดแย้งหรือปัญหาความสัมพันธ์กับคู่รัก ทั้งเรื่องความสุขสมในการมีเพศสัมพันธ์หรือปัญหาเนื่องจากไม่สามารถมีบุตรได้[/*]
การป้องกันนกเขาไม่ขัน
การป้องกันสามารถเริ่มต้นด้วยตนเองง่าย ๆ ด้วยการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งนอกจากร่างกายจะแข็งแรงแล้วยังช่วยกระตุ้นการสร้างฮอร์โมนเพศชายได้เป็นอย่างดี รวมไปถึงผู้ที่มีโรคประจำตัว ควรอยู่ในความดูแลของแพทย์อย่างใกล้ชิด ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมตามคำแนะนำของแพทย์ พบแพทย์เพื่อตรวจร่างกายอย่างละเอียดสม่ำเสมอ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในชีวิตประจำวันเพื่อสุขภาพที่ดียิ่งขึ้น เช่น เลิกสูบบุหรี่ หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ทำอารมณ์ให้แจ่มใสและหลีกเลี่ยงความเครียด
นอกจากนั้น สำหรับผู้มีภาวะทางจิต เช่น โรคซึมเศร้า วิตกกังวล หรือมีปัญหาทางสุขภาพจิตอื่น ๆ ควรติดต่อเข้ารับการบำบัดรักษาทางจิตเพื่อการรักษาอย่างทันท่วงที

[/color]เครดิต : https://www.108news.net/news/2757

4
http://www.chularat.com/service_detail.php?lang=th&gid=3&id=8

5
            โรคกระดูกและข้อ ในปัจจุบันพบได้มากขึ้นเรื่อยๆโดยมีด้วยกันหลายสาเหตุ
ไม่ว่าจะเป็นโรคที่เกิดจากอุบัติเหตุ เช่น กระดูกหัก ต่างๆ
เอ็นรอบข้อฉีกขาด โรคจากการทำงานและเล่นกิจกรรมที่หักโหม เช่น อาการปวดหลัง
 ปวดคอ นิ้วล็อก โรคโดยกำเนิด เช่น เท้าปุก กระดูกสันหลังคดงอ
โรคจากการอักเสบติดเชื้อ
ส่งผลให้การดำเนินชีวิตขาดความกระฉับกระเฉงคล่องแคล่ว
ด้วยเหตุผลนี้โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 3 อินเตอร์จึงจัดตั้ง
"คลินิกศัลยกรรมกระดูกและข้อ"
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยสามารถกลับเข้าสู่สภาวะปกติและดำเนินชีวิตได้ดีเช่นเดิม
 
โดยพร้อมให้ความช่วยเหลือและฟื้นฟูทุกท่านที่ทุกข์ทรมานจากอาการบาดเจ็บที่กระดูกหรือความผิดปกติของกระดูกและข้อต่อเฉียบพลันและเรื้อรัง


                  "คลินิก ศัลยกรรมกระดูก และข้อ" โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 3 อินเตอร์
เป็นศูนย์การแพทย์สาขาวิชาออร์โธปิดิกส์ที่มีมาตรฐานแห่งหนึ่ง
ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย
ทีมศัลยแพทย์กระดูกและข้อที่มีความรู้ความชำนาญและมีประสบการณ์เฉพาะสาขาวิชาความชำนาญด้านกระดูกและข้อในสาขาเฉพาะทางที่ลงลึกในสาขาย่อย
 (Subspecialtyผ่านการฝึกอบรมทั้งในประเทศและต่างประเทศ
รวมถึงความพร้อมของอุปกรณ์และเครื่องมือที่ทันสมัยทำให้ผลการรักษาโรคกระดูกและข้อได้ผลที่ดีกว่าการรักษาทั่วไป
 ไม่ว่าการผ่าตัดกระดูกหัก รักษาอาการโรคข้ออักเสบ ข้อเสื่อม
ด้วยวิธีการใช้ยาและการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อหัวไหล่
การเย็บเส้นเอ็นหัวเข่าด้วยวิธี Arthroscopy
ทำให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นฟูสภาพได้เร็วขึ้นและเพื่อให้ความมั่นใจว่าผู้ป่วยทุกท่านจะได้รับการบริการที่ดีที่สุด
       ให้การบริการและการรักษา
  •       ศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์ทั่วไป
  • [/color][/*]
  •       ศัลยกรรมกระดูกสันหลัง
  • [/color][/*]
  •       โรคทางออโธปิดิกส์ในเด็ก
  • [/color][/*]
  •       การรักษาโดยการส่องกล้องและเวชศาสตร์การกีฬา
  • [/color][/*]
  •       ศัลยกรรมการเปลี่ยนข้อเทียม
  • [/color][/*]
  •       สะโพกเทียม
  • [/color][/*]
  •       ข้อเข่าเทียม
  • [/color][/*]
  •       หัวไหล่
  • [/color][/*]
  •       ข้อศอก
  • [/color][/*]
  •       ศัลยกรรมเกี่ยวกับมือ
  • [/color][/*]
   โดยสามารถปรึกษาแพทย์ที่คลินิกโรคกระดูกและข้อ หากท่านมีอาการต่อไปนี้
      - ความเจ็บปวดและการบาดเจ็บของระบบโครงสร้าง กระดูก ข้อ เอ็น กล้ามเนื้อ
      - ปวดต้นคอ ปวดหลัง ปวดเอว
      - อุบัติเหตุกระดูกหัก ข้อเคลื่อน ทั้งกระดูกสันหลังและแขนขา
      - บาดเจ็บจากการเล่นกีฬาหรือจากการทำงาน 
      - ปวดไหล่ แขน ศอก มือและเท้า
      - เอ็นและกล้ามเนื้อฉีกขาด
      - ความพิการผิดรูปร่าง ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่
      - หลังคด
      - ข้อโก่งงอ
      - มือ เท้า นิ้ว ผิดรูปร่าง นิ้วหัวแม่เท้าเก
      - ขาสั้น ยาว ไม่เท่ากัน
      - ความเสื่อม ข้อเข่าเสื่อม ข้อสะโพกเสื่อม
      - กระดูกพรุน
      - การอักเสบและการกดทับเส้นประสาท
      - มือชา นิ้วล็อค
      - แขนขา อ่อนแรง
      - ข้อบวม โรคเก๊าท์ โรคข้ออักเสบอื่นๆ


   เครดิต : http://www.chularat.com/service_detail.php?lang=th&gid=3&id=8
         
     

6
Lnwlike.org ปั้มไลค์ ปั้มไลค์เพจ ปั้มผู้ติดตาม ของคนไทย

7
ปั้มไลค์,ปั้มไลค์เพจ,ปั้มไลค์เพจฟรี,ปั้มไลค์แฟนเพจ,เพิ่มไลค์แฟนเพจ,รับเพิ่มไลค์แฟนเพจ

เว็บ : https://www.lnwlike.org

เว็บ : https://www.lnwlike.org


ปั้มไลค์,ปั้มไลค์เพจ,ปั้มไลค์เพจฟรี,ปั้มไลค์แฟนเพจ,เพิ่มไลค์แฟนเพจ,รับเพิ่มไลค์แฟนเพจ

ปั้มไลค์,ปั้มไลค์เพจ,ปั้มไลค์เพจฟรี,ปั้มไลค์แฟนเพจ,เพิ่มไลค์แฟนเพจ,รับเพิ่มไลค์แฟนเพจ

เว็บ : https://www.lnwlike.org


เว็บ : https://www.lnwlike.org



ปั้มไลค์,ปั้มไลค์เพจ,ปั้มไลค์เพจฟรี,ปั้มไลค์แฟนเพจ,เพิ่มไลค์แฟนเพจ,รับเพิ่มไลค์แฟนเพจ

ปั้มไลค์,ปั้มไลค์เพจ,ปั้มไลค์เพจฟรี,ปั้มไลค์แฟนเพจ,เพิ่มไลค์แฟนเพจ,รับเพิ่มไลค์แฟนเพจ

เว็บ : https://www.lnwlike.org

เว็บ : https://www.lnwlike.org


ปั้มไลค์,ปั้มไลค์เพจ,ปั้มไลค์เพจฟรี,ปั้มไลค์แฟนเพจ,เพิ่มไลค์แฟนเพจ,รับเพิ่มไลค์แฟนเพจ

ปั้มไลค์,ปั้มไลค์เพจ,ปั้มไลค์เพจฟรี,ปั้มไลค์แฟนเพจ,เพิ่มไลค์แฟนเพจ,รับเพิ่มไลค์แฟนเพจ

เว็บ : https://www.lnwlike.org


เว็บ : https://www.lnwlike.org



ปั้มไลค์,ปั้มไลค์เพจ,ปั้มไลค์เพจฟรี,ปั้มไลค์แฟนเพจ,เพิ่มไลค์แฟนเพจ,รับเพิ่มไลค์แฟนเพจ


8
อื่น ๆ / ลิ้นหัวใจ
« เมื่อ: กรกฎาคม 03, 2018, 08:22:26 AM »
    ลักษณะและหน้าที่ของลิ้นหัวใจหัวใจมีหน้าที่สูบฉีดเลือดไปทั่วร่างกาย ประกอบด้วยห้องหัวใจ 4 ห้อง โดยมี ลิ้นหัวใจ ซึ่งเป็นอวัยวะที่คอยปิดและเปิดให้เลือดผ่านเข้าออกในแต่ละห้องหัวใจทั้งหมดจำนวน 4 ลิ้น ได้แก่ ลิ้นเอออร์ติก (Aortic Valve) ลิ้นไมตรัล (Mitral Valve) ลิ้นไตรคัสปิด (Tricuspid Valve)  และลิ้นพูลโมนิค (Pulmonic Valve) ลิ้นทั้งสี่นี้จะทำงานประสานกันเพื่อให้หัวใจสามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกายได้ หากลิ้นหัวใจมีความผิดปกติ ไม่ว่าจะเกิดการตีบ (Stenosis) หรือรั่ว (Regurgitation) จะทำให้การทำงานของหัวใจผิดปกติด้วย ไม่สามารถสูบฉีดเลือดได้ตามปกติ นอกจากนั้นยังอาจทำให้มีเลือดคั่งในปอด ทำให้ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยง่าย ถ้าเป็นมากขึ้น จะนอนราบศีรษะต่ำไม่ได้ เนื่องจากอาการแน่น และเหนื่อยหายใจลำบาก พยาธิสภาพหรือสาเหตุของความผิดปกติของลิ้นหัวใจ แบ่งได้ดังนี้
    1) ความพิการของลิ้นหัวใจแต่กำเนิด(Congenital Valve Disease) เช่น ลิ้นหัวใจตีบ เด็กที่เป็นโรคกลุ่มนี้ จะมีอาการตั้งแต่แรกคลอด และมักจะต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
    2) โรคลิ้นหัวใจรูมาติกส์(Rheumatic Heart Disease) เป็นโรคลิ้นหัวใจผิดปกติชนิดที่พบมากที่สุดในประเทศไทย เกิดจากการติดเชื้อสเตรปโตคอคคัส กรุ๊ป เอ ทำให้เกิดไข้รูมาติกส์เมื่อครั้งผู้ป่วยยังเป็นเด็กและมีผลทำลายลิ้นหัวใจ ของผู้ป่วยในระยะยาว  ส่วนมากจะเริ่มอาการแสดงความผิดปกติของหัวใจ 5-10 ปี หลังจากเป็นไข้รูมาติกส์
    3) โรคลิ้นหัวใจผิดปกติจากการเสื่อมสภาพ(Degenerative Valve Disease) มักพบในผู้ป่วยสูงอายุ เกิดจากการเสื่อมสภาพของเนื้อเยื่อของลิ้นหัวใจ ทำให้เกิดการผิดปกติของการเปิดหรือปิดของลิ้น เช่น ลิ้นไมตรัลรั่ว ซึ่งเกิดจากตัวลิ้นมีการเสื่อมและยืดตัวมาก หรือลิ้นเอออร์ติกตีบในผู้สูงอายุ ซึ่งเกิดจากการเสื่อมของเนื้อเยื่อและมีหินปูนมาเกาะที่ตัวลิ้น (Calcification)
    4) โรคลิ้นหัวใจอักเสบจากการติดเชื้อ(Infective Endocarditis) เกิดจากการติดเชื้อในกระแสเลือด (Bacteremia) และตัวเชื้อโรคไปเกาะกินที่ลิ้นหัวใจ  ผู้ป่วยจะมีอาการเฉียบพลัน และหัวใจวายรุนแรงรวดเร็วมาก  ซึ่งเกิดจากการฉีกขาดของตัวลิ้น และทำให้เกิดการรั่วของลิ้นอย่างรุนแรง กลุ่มโรคนี้ส่วนหนึ่งพบในผู้ป่วยที่ใช้ ยาเสพติดฉีดเข้าเส้นโดยใช้เข็มที่ไม่สะอาดพอ เป็นเหตุให้เชื้อโรคเข้าในกระแสโลหิตได้ อย่างไรก็ตาม สามารถพบโรคลิ้นหัวใจอักเสบนี้ในผู้ป่วยที่ไม่ได้ติดยาเสพติดได้ โดยเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายด้วยช่องทางอื่น เช่น ทางฟันในผู้ป่วยที่มีการอักเสบของฟันหรือฟันผุ (Infective Endocarditis) เกิดจากการติดเชื้อในกระแสเลือด (Bacteremia) และตัวเชื้อโรคไปเกาะกินที่ลิ้นหัวใจ  ผู้ป่วยจะมีอาการเฉียบพลัน และหัวใจวายรุนแรงรวดเร็วมาก  ซึ่งเกิดจากการฉีกขาดของตัวลิ้น และทำให้เกิดการรั่วของลิ้นอย่างรุนแรง กลุ่มโรคนี้ส่วนหนึ่งพบในผู้ป่วยที่ใช้ ยาเสพติดฉีดเข้าเส้นโดยใช้เข็มที่ไม่สะอาดพอ เป็นเหตุให้เชื้อโรคเข้าในกระแสโลหิตได้ อย่างไรก็ตาม สามารถพบโรคลิ้นหัวใจอักเสบนี้ในผู้ป่วยที่ไม่ได้ติดยาเสพติดได้ โดยเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายด้วยช่องทางอื่น เช่น ทางฟันในผู้ป่วยที่มีการอักเสบของฟันหรือฟันผุ
      แนวทางการรักษาผู้ป่วยโรคลิ้นหัวใจผิดปกติ[list=1]
    • การรักษาด้วยยา (Medical Treatment)[/*]
    • การรักษาด้วยบอลลูน (Percutaneous Balloon mitral  valvulotomy, PBMV) เป็นการรักษาโรคลิ้นหัวใจไมตรัลตีบ โดยการใส่สายสวนที่มีบอลลูน เข้าทางเส้นเลือดดำที่ขาหนีบ และสอดบอลลูนนี้ไปถึงลิ้นที่ตีบ และขยายลิ้นโดยบอลลูนนั้น[/*]
    • การผ่าตัด มี 2 ชนิด คือ [/*]
    • การขยายลิ้นหรือซ่อมลิ้น (Valve Repair)[/*]
    • การผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ (Valve Replacement)[/*]
    ประเภทของลิ้นหัวใจ (Heart Valve for Replacement)1) ลิ้นหัวใจเทียม (Mechanical Valve)มีชนิดลูกบอล ทำจากสาร Silastic และชนิดโลหะเป็นบานพับ (Disc Valve) ทำงานเหมือนการปิดเปิดของประตูหรือหน้าต่าง ข้อดี: ลิ้นหัวใจเป็นโลหะ จึงคงทนไม่มีการเสื่อมสลาย ข้อเสีย:  ต้องกินยากันเลือดแข็ง (anticoagulation) ตลอดชีวิต
    •  เกิดลิ่มเลือดจากลิ้นหัวใจได้[/*]
    •  เกิดการติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจใหม่ได้[/*]
    • มีเสียงของลิ้นหัวใจดังรบกวน[/*]
    2) ลิ้นหัวใจจากเนื้อเยื่อสัตว์ (Bioprosthesis, Tissue Valve)มี 2 ชนิด คือ ลิ้นหัวใจหมู (Porcine Valve) และลิ้นหัวใจที่ทำจากเยื่อหุ้มหัวใจของวัว (Bovine Pericardium) ข้อดี: ไม่ต้องกินยากันเลือดแข็งและเกิดลิ่มเลือดที่ลิ้นหัวใจน้อย ข้อเสีย: ลิ้นหัวใจใหม่จะเสื่อมสภาพภายใน 5-10 ปี ทำให้ต้องทำผ่าตัดใหม่
    3) ลิ้นหัวใจของมนุษย์ (Homograft Heart Valve)จากผู้บริจาคอวัยวะ วิธีนี้เป็นการนำลิ้นหัวใจจากผู้เสียชีวิตที่ได้แสดงความจำนงบริจาคอวัยวะไว้ตั้งแต่ก่อนเสียชีวิต หรือได้รับอนุญาตจากญาติผู้เสียชีวิตให้นำลิ้นหัวใจมาใช้ประโยชน์ได้ ซึ่งถ้านำมาผ่านกระบวนการเตรียมและเก็บโดยวิธีพิเศษจะสามารถเก็บรักษาไว้ใช้ได้ถึง 5 ปี  ผู้เสียชีวิตที่สามารถบริจาคลิ้นหัวใจมี 3 ประเภท คือ 1) ผู้เสียชีวิตจากสมองตาย ที่บริจาคอวัยวะเพื่อการปลูกถ่ายอวัยวะ แต่หัวใจมีสภาพไม่เหมาะสมที่จะนำไปปลูกถ่ายได้ 2) ผู้เสียชีวิตที่หัวใจหยุดเต้น ทั้งนี้ผู้บริจาคต้องไม่มีข้อห้ามในการนำลิ้นหัวใจไปใช้ ซึ่งจะพิจารณาจาก อายุ สาเหตุการเสียชีวิต ระยะเวลาที่เสียชีวิต การติดเชื้อต่าง ๆ เป็นต้น 3) ผู้ที่ได้รับการปลูกถ่ายหัวใจใหม่ สามารถบริจาคหัวใจดวงเก่าไม่มีพยาธิสภาพที่ลิ้นหัวใจ
    ข้อดี:โอกาสเกิดการติดเชื้อของลิ้น ต่ำมาก อายุการใช้งานนานพอสมควร  (10-22 ปี) ไม่ต้องรับประทานยากันเลือดแข็งตัว เสี่ยงต่อการเกิดลิ่มเลือด ที่ลิ้นหัวใจน้อย ไม่มีเสียงของลิ้นหัวใจดังรบกวน ดีมากในกรณีโรคลิ้นหัวใจอักเสบจากการติดเชื้อ
    ข้อเสีย:  ต้องได้จากผู้บริจาคอวัยวะเท่านั้น มีความสลับซับซ้อนในขั้นตอนการเก็บรักษา (Valve Preservation) การผ่าตัดใส่ลิ้นหัวใจนี้แก่ผู้ป่วยค่อนข้างมีความยุ่งยากมากกว่าการใส่ลิ้นหัวใจ 2 ชนิดแรก ถึงแม้ว่าในการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจให้แก่ผู้ป่วยโรคลิ้นหัวใจผิดปกติจะมีชนิดลิ้นให้เลือกหลายชนิด ซึ่งมีความแตกต่างกันในคุณลักษณะ คุณสมบัติ อายุการใช้งาน ความยากง่ายในการผ่าตัดรวมถึงราคาที่แตกต่างกัน สิ่งหนึ่งที่ควรตระหนักและขอเน้นก็คือ ลิ้นหัวใจแต่ละชนิดนี้ไม่สามารถใช้ทดแทนกันได้ ผู้ป่วยแต่ละรายจะมีชนิดของลิ้นหัวใจที่เหมาะสมที่สุด เพียงชนิดเดียวเท่านั้น ศัลยแพทย์ผู้ทำการผ่าตัดจำเป็นต้องพิจารณาอย่างรอบคอบในการเลือกใช้ลิ้นหัวใจให้เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย ซึ่งต้องอธิบายเหตุผลและรายละเอียดให้ผู้ป่วยเข้าใจด้วย[/color]

    9
    อื่น ๆ / ศัยกรรมกระดูก
    « เมื่อ: กรกฎาคม 03, 2018, 07:15:29 AM »
    โรคกระดูกและข้อ ในปัจจุบันพบได้มากขึ้นเรื่อยๆโดยมีด้วยกันหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็นโรคที่เกิดจากอุบัติเหตุ เช่น กระดูกหัก ต่างๆ เอ็นรอบข้อฉีกขาด โรคจากการทำงานและเล่นกิจกรรมที่หักโหม เช่น อาการปวดหลัง ปวดคอ นิ้วล็อก โรคโดยกำเนิด เช่น เท้าปุก กระดูกสันหลังคดงอ โรคจากการอักเสบติดเชื้อ ส่งผลให้การดำเนินชีวิตขาดความกระฉับกระเฉงคล่องแคล่ว ด้วยเหตุผลนี้โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 3 อินเตอร์จึงจัดตั้ง "คลินิกศัลยกรรมกระดูกและข้อ" โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยสามารถกลับเข้าสู่สภาวะปกติและดำเนินชีวิตได้ดีเช่นเดิม โดยพร้อมให้ความช่วยเหลือและฟื้นฟูทุกท่านที่ทุกข์ทรมานจากอาการบาดเจ็บที่กระดูกหรือความผิดปกติของกระดูกและข้อต่อเฉียบพลันและเรื้อรัง
      
              "คลินิกศัลยกรรมกระดูก และข้อ" โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 3 อินเตอร์ เป็นศูนย์การแพทย์สาขาวิชาออร์โธปิดิกส์ที่มีมาตรฐานแห่งหนึ่ง ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทีมศัลยแพทย์กระดูกและข้อที่มีความรู้ความชำนาญและมีประสบการณ์เฉพาะสาขาวิชาความชำนาญด้านกระดูกและข้อในสาขาเฉพาะทางที่ลงลึกในสาขาย่อย (Subspecialtyผ่านการฝึกอบรมทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมถึงความพร้อมของอุปกรณ์และเครื่องมือที่ทันสมัยทำให้ผลการรักษาโรคกระดูกและข้อได้ผลที่ดีกว่าการรักษาทั่วไป ไม่ว่าการผ่าตัดกระดูกหัก รักษาอาการโรคข้ออักเสบ ข้อเสื่อม ด้วยวิธีการใช้ยาและการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อหัวไหล่ การเย็บเส้นเอ็นหัวเข่าด้วยวิธี Arthroscopy ทำให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นฟูสภาพได้เร็วขึ้นและเพื่อให้ความมั่นใจว่าผู้ป่วยทุกท่านจะได้รับการบริการที่ดีที่สุด
     
    ให้การบริการและการรักษา
    • ศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์ทั่วไป[/*]
    • ศัลยกรรมกระดูกสันหลัง[/*]
    • โรคทางออโธปิดิกส์ในเด็ก[/*]
    • การรักษาโดยการส่องกล้องและเวชศาสตร์การกีฬา[/*]
    • ศัลยกรรมการเปลี่ยนข้อเทียม[/*]
    • สะโพกเทียม[/*]
    • ข้อเข่าเทียม[/*]
    • หัวไหล่[/*]
    • ข้อศอก[/*]
    • ศัลยกรรมเกี่ยวกับมือ[/*]
    โดยสามารถปรึกษาแพทย์ที่คลินิกโรคกระดูกและข้อ หากท่านมีอาการต่อไปนี้   - ความเจ็บปวดและการบาดเจ็บของระบบโครงสร้าง กระดูก ข้อ เอ็น กล้ามเนื้อ
       - ปวดต้นคอ ปวดหลัง ปวดเอว
       - อุบัติเหตุกระดูกหัก ข้อเคลื่อน ทั้งกระดูกสันหลังและแขนขา
       - บาดเจ็บจากการเล่นกีฬาหรือจากการทำงาน 
       - ปวดไหล่ แขน ศอก มือและเท้า
       - เอ็นและกล้ามเนื้อฉีกขาด
       - ความพิการผิดรูปร่าง ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่
       - หลังคด
       - ข้อโก่งงอ
       - มือ เท้า นิ้ว ผิดรูปร่าง นิ้วหัวแม่เท้าเก
       - ขาสั้น ยาว ไม่เท่ากัน
       - ความเสื่อม ข้อเข่าเสื่อม ข้อสะโพกเสื่อม
       - กระดูกพรุน
       - การอักเสบและการกดทับเส้นประสาท
       - มือชา นิ้วล็อค
       - แขนขา อ่อนแรง
       - ข้อบวม โรคเก๊าท์ โรคข้ออักเสบอื่นๆ

    เครดิต : http://www.chularat.com/service_detail.php?lang=th&gid=3&id=8

    10
    อื่น ๆ / Re: ภาวะหัวใจโต (Cardiomegaly)
    « เมื่อ: กรกฎาคม 03, 2018, 06:25:03 AM »
    โรคระบบทางเดินปัสสาวะ  ระบบทางเดินปัสสาวะของคนเราประกอบด้วย ไต (Kidney) ท่อไต (Ureter) 2 ข้าง กระเพาะปัสสาวะ (Bladder) และท่อปัสสาวะ (Urethra)  ไตทำหน้าที่กรองของเสียออกในรูปปัสสาวะ ส่งผ่านท่อไตไปยังกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะ

    http://www.chularat.com/service_detail.php?lang=th&gid=3&id=17

    11
        ในประเทศไทยมีเด็กเกิดใหม่ปีละ 800,000 ราย และมีทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยประมาณ 9% หรือประมาณ 72,000 คน บางรายมีความพิการต้องเป็นภาระแก่ครอบครัวในการดูแลอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต และครอบครัวที่มีลูกเป็นทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยต้องรับภาระค่าใช้จ่ายสูงในการเลี้ยงดูและรักษาภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น รวมทั้งมีภาระดูแลความพิการซ้ำซ้อนที่ตามมา โดยร้อยละ 75 ของ
    ทารกน้ำหนักน้อยที่รอดชีวิต ในช่วงต้นของชีวิตมักมีปัญหาในด้านการเจริญเติบโตหรือพัฒนาการตามมา เช่น ปัญหาในด้านการเรียน การมองเห็น โรคทางเดินหายใจ โรคทางเดินอาหาร หรือการเป็นเด็กพิการ ปัญญาอ่อน
     
              ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย มีความเสี่ยงหรือความไวสูงต่อการเจ็บป่วย พิการ หรือเสียชีวิตในระยะปริกำเนิดหรือระยะขวบปีแรก และยังมีความเสี่ยงต่อภาวะทุพโภชนาการ พัฒนาการล่าช้าในทุกด้านมากกว่าเด็กที่มีน้ำหนักแรกเกิดตั้งแต่ 2,500 กรัมขึ้นไป จึงต้องการการดูแลอย่างใกล้ชิดจากแพทย์ พยาบาล ผู้เชี่ยวชาญสาขากุมารเวชศาสตร์ทารกแรกเกิดโดยเฉพาะ
              ศูนย์ดูแลผู้ป่วยทารกแรกเกิดระยะวิกฤต โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 3 อินเตอร์ (Chularat 3 International Neonatal Intensive Care Unit - NICU) เล็งเห็นปัญหาดังกล่าว จึงมุ่งมั่น ให้บริการดูแลรักษาทารกแรกเกิดที่อยู่ในภาวะวิกฤติหรือทารกแรกเกิดที่มีความเสี่ยงสูงให้รอดชีวิตโดยปราศจากโรคแทรกซ้อน หรือป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนให้น้อยที่สุด รวมทั้งให้คำปรึกษาตรวจวินิจฉัยทารกผิดปกติก่อนคลอด ด้วยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านต่างๆ ร่วมกับกุมารแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ สาขากุมารเวชศาสตร์ทารกแรกเกิด และทีมพยาบาลที่มีประสบการณ์ ในการดูแลทารกแรกเกิดวิกฤต อย่างใกล้ชิด ตั้งแต่ก่อนคลอดจนถึงหลังคลอด ด้วยเครื่องมืออุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ทันสมัย
              ศูนย์ดูแลผู้ป่วยทารกแรกเกิดระยะวิกฤต โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 3 อินเตอร์ (Chularat 3 International Neonatal Intensive Care Unit - NICU) หรือ ห้องอภิบาลทารกแรกเกิดมีพร้อมสรรพด้วยแพทย์และเจ้าหน้าที่ดูแล พร้อมด้วยระบบเฝ้าติดตามและสัญญาณเตือน อุปกรณ์ในการช่วยหายใจและการกู้ชีพ สามารถติดต่อกุมารแพทย์เฉพาะทางได้ทุกสาขา บริการห้องแล็บตลอด 24 ชั่วโมง

              เครื่องจะบันทึกอัตราการเต้นของหัวใจ อัตราหายใจ ความดันโลหิตและอุณหภูมิร่างกาย นอกจากนี้ยังมีเครื่องวัดปริมาณออกซิเจนในเลือดด้วย คุณอาจสังเกตว่าลูกน้อยแรกเกิดมีแผ่นแปะเล็กๆ หรือปลอกสวมตามตัว เช่น บนอก ขา แขนและส่วนอื่นๆ ของร่างกาย แผ่นแปะและปลอกสวมเหล่านี้มีลวดเชื่อมต่อกับเครื่องเฝ้าติดตามซึ่งคล้ายจอโทรทัศน์และจะแสดงผลเป็นตัวเลขต่างๆ
     
    * ในห้องอภิบาลทารกแรกเกิดมักมีสัญญาณเตือนดังเป็นระยะ สัญญาณเตือนนี้ไม่ได้หมายถึงเหตุฉุกเฉินเสมอไป แต่ส่วนใหญ่จะเป็นสัญญาณที่ดังเป็นกิจวัตรประจำอยู่แล้ว จึงไม่จำเป็นต้องวิตก
    วิธีการช่วยหายใจ (ขึ้นกับความต้องการของทารกแรกเกิดที่คลอดก่อนกำหนดแต่ละคน)หลอดสอดคาท่อลม – เป็นสายซึ่งใช้สอดลงหลอดลมของทารกแรกเกิดเพื่อส่งออกซิเจนและอากาศอุ่นๆ  เติมความชื้นแก่ทารก
    เครื่องช่วยหายใจ – เป็นอุปกรณ์ช่วยหายใจซึ่งเชื่อมต่อกับหลอดสอดคาท่อลมข้างต้นและจะเฝ้าติดตามปริมาณออกซิเจน ความดันอากาศและจำนวนครั้งของการหายใจ
    เครื่องปรับความดันบวกตลอดทางเดินหายใจ (C-PAP) – วิธีการนี้จะใช้กับทารกที่สามารถหายใจได้เองแล้ว แต่ยังต้องการความช่วยเหลือให้ส่งอากาศลงไปที่ปอด
    กล่องออกซิเจน – เป็นกล่องพลาสติกใสใช้วางครอบศีรษะทารกและต่อกับสายซึ่งจะปั๊มออกซิเจนให้ทารก
    วิธีการให้อาหาร (ขึ้นกับความต้องการของทารกแรกเกิดที่คลอดก่อนกำหนดแต่ละคน)สายน้ำเกลือ – สายเหล่านี้จะสอดเข้าในหนังศีรษะ แขนหรือขาทารกเพื่อส่งสารอาหารเข้าสู่กระแสเลือดโดยตรงและมักใช้กับทารกคลอดก่อนกำหนดที่ระบบย่อยอาหารยังเติบโตไม่เต็มที่และไม่สามารถดูด กลืนและหายใจตามปกติได้ บางครั้งยังใช้วิธีการนี้ระหว่างรักษาภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ด้วย
    หลอดสวนสายสะดือ – เป็นการผ่าตัดสอดหลอดสวนเข้าไปในเส้นเลือดของสายสะดือ วิธีนี้ไม่เจ็บ แต่มีความเสี่ยง เช่น อาจเกิดการติดเชื้อและเลือดเป็นลิ่มได้ ดังนั้นแพทย์จึงมักเลือกใช้วิธีนี้ในกรณีที่จำเป็นจริงๆ และทารกอาจต้องพึ่งการให้อาหารด้วยวิธีนี้เป็นเวลานานหลายสัปดาห์ สำหรับทารกในกรณีเช่นนี้ หลอดสวนสายสะดือเป็นวิธีรับสารอาหารที่มีประสิทธิภาพที่สุด
    สายให้อาหารทางปากและจมูก – วิธีการนี้จะใช้สายที่มีความยืดหยุ่นสอดเข้าทางจมูกหรือปากของทารกซึ่งพร้อมจะย่อยนมแม่หรือนมผงดัดแปลงสูตรทารกแล้ว แต่ยังไม่สามารถดูด กลืนหรือหายใจได้อย่างสัมพันธ์กัน
    สายหลัก (บางครั้งเรียกว่าสาย PICC) – คือสายน้ำเกลือซึ่งจะสอดเข้าในเส้นเลือดที่ใหญ่กว่า โดยมักเป็นที่แขน วิธีการนี้ช่วยส่งสารอาหารและยาซึ่งอาจทำให้เส้นเลือดเล็กๆ บอบช้ำระคายเคืองได้
    อุปกรณ์อื่นๆตู้อบ – ตู้อบคือเปลพลาสติกใสที่ให้ความอบอุ่นแก่ทารก รวมทั้งช่วยปกป้องทารกจากเชื้อโรคและเสียงรบกวน
    ไฟส่องภาวะตัวเหลือง – คือไฟฟลูออเรสเซนต์สีฟ้าสว่างจ้าซึ่งจะติดไว้เหนือตู้อบเพื่อช่วยรักษาภาวะตัวเหลือง
     
    ทีมแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่          เจ้าหน้าที่ในห้องอภิบาลทารกแรกเกิดมักประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านการหายใจ ผู้เชี่ยวชาญกิจกรรมบำบัด โภชนากร ที่ปรึกษาเรื่องนมแม่ เภสัชกร เจ้าหน้าที่สังคมสงเคราะห์และกุมารแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทารกแรกเกิด หากคุณพ่อคุณแม่ทราบว่าลูกน้อยแรกเกิดได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างดีที่สุดจากเจ้าหน้าที่ก็จะช่วยให้สบายใจและเบาใจลงได้
    ศูนย์ผู้ป่วยวิกฤตทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย (NICU) โรงพยาบาลจุฬารัตน์ 3 อินเตอร์ มีความพร้อมในระบบการทำงานด้าน[list=1]
    • การป้องกันก่อนคลอด (Primary Prevention)[/*]
    • การดูแลให้เหมาะสมตั้งแต่นาทีแรก เพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อนในระยะยาว[/*]
    • การดูแลต่อเนื่อง ทั้งการรักษาทั่วไป, การให้ออกซิเจนและการช่วยหายใจ[/*]
    • เน้นการให้นมแม่เพื่อป้องกัน NEC, ROP, Infection โดยการจัดห้องให้มารดาได้พักช่วงเวลากลางวันเพื่อปั๊มนมได้ 2-3 รอบ /วัน[/*]
    • การวางแผน แนะนำ ให้ความรู้การดูแลแก่พ่อแม่ เมื่อทารกอาการดีขึ้นพร้อมกลับบ้าน เพื่อลดความวิตกกังวลเกี่ยวกับการดูแลทารกที่บ้าน[/*]
     
    • พ่อแม่และผู้ดูแล จะได้มาฝึกการเลี้ยงดูทารกก่อนกลับบ้าน 2 สัปดาห์ เพื่อสร้างความมั่นใจและการดูแลที่ถูกวิธี[/*]
    • สอนวิธีการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นให้ทารกน้ำหนักน้อยกว่า 1,500 กรัม ในกรณี ชัก สมองขาดออกซิเจน[/*]
    • สอนวิธีการสังเกตความผิดปกติของทารก เช่น ซึม หายใจลำบาก ตัวเขียว ฯลฯ[/*]
    • แนะนำการบันทึกเรื่องการดูดนม การขับถ่ายทุกวันในช่วงสัปดาห์แรก[/*]
    [list=1]
    • มีการติดตาม โทรสอบถามพัฒนาการของทารกหลังจากกลับบ้านเป็นเวลา 1 สัปดาห์ และ บริการตอบปัญหาหรือข้อสงสัยทางโทรศัพท์ตลอด 24 ชั่วโมง[/*]
    ผลงานเด่นและความภาคภูมิใจที่ผ่านมา
    • การดูแลทารกที่คลอดก่อนกำหนด โดยทารกน้ำหนักตัวน้อยต่ำสุด 540 กรัมให้รอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ[/*]
    • มีการนำ Early nasal CPAP มาใช้เพื่อลดการใช้ Ventilator ในทารกแรกเกิดวิกฤต[/*]
    • มีการนำ Heated Humidifier High Flow Nasal Cannula มาใช้เพื่อป้องกันการ injury ของ airway และใช้ generate CPAP[/*]
    • ใช้ T-piece Resuscitator (Neopuff) มาใช้ในการ resuscitate ทารก เพื่อลด Lung injury เพราะสามารถควบคุม PIP/PEEP ได้[/*]
    • มีการนำ Blender มาใช้ในการให้ Therapy ร่วมกับ  rescitator  เพื่อป้องกันภาวะ hyperoxia ในทารกแรกเกิด[/*]
    • มีการนำ Metronome ซึ่งเป็นอุปกรณ์ในการให้จังหวะดนตรีมาใช้ในการให้จังหวะ Rate การช่วยหายใจ[/*]
    • ปรับปรุง Incubator Transport ให้มี blender, T-piece resuscitator, CPAP, Pulse oximeter, Heated Humidifier, Ventilator transport เพื่อควบคุมการช่วยหายใจให้เหมาะสมตลอดเวลาขณะเคลื่อนย้าย[/*]
    • มีการสอน CPR พ่อแม่และผู้ดูแล ทารกก่อนกลับบ้านในทารกกลุ่มเสี่ยง (น้ำหนัก 1,500 กรัม, ชัก, HIE)[/*]
    เว็บที่เกี่ยวข้อง : http://www.chularat.com/service_detail.php?lang=th&gid=3&id=6

    12
    อื่น ๆ / ภาวะหัวใจโต (Cardiomegaly)
    « เมื่อ: กรกฎาคม 02, 2018, 09:42:16 AM »
    [img width=696,height=528]https://i0.wp.com/www.108news.net/wp-content/uploads/2018/07/554.jpg[/img]

    ภาวะหัวใจโต (Cardiomegaly)

    ภาวะหัวใจโต เป็นภาวะที่หัวใจมีขนาดโตมากกว่าปกติ ซึ่งสามารถวินิจฉัยได้จากภาพถ่ายเอกซเรย์ปอดสาเหตุที่ทำให้มีภาวะหัวใจโตนั้นมีได้หลายสาเหตุทั้งที่เป็นจากภาวะตามธรรมชาติ เช่น การตั้งครรภ์ เป็นต้น และเป็นจากตัวโรคหัวใจเองเช่น มีลิ้นหัวใจผิดปกติ,กล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ,หัวใจเต้นผิดปกติรวมไปถึงเยื้อหุ้มหัวใจที่ผิดปกติ ภาวะหัวใจโตสามารถตรวจพบได้ทุกเพศทุกวัยตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยสูงอายุแต่จะพบในประชากรที่สูงอายุมากกว่าวัยอื่นๆ อันเนื่องมาจากผู้สูงอายุจะพบว่ามีความเสื่อมของเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจและเซลล์ต่างๆ ของร่างกายและในผู้สูงอายุมักมีโรคประจำตัวร่วมหลายโรคอีกด้วย

    หัวใจโตมีอาการอย่างไร ?
    ในระยะแรกของภาวะหัวใจโตมักจะไม่มีอาการแสดงสามารถตรวจพบได้จากการภาพถ่ายเอกซเรย์ปอดหรือการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ในผู้ป่วยบางรายอาจจะมีอาการเหนื่อยง่าย, ใจสั่น, บวมหรือเจ็บแน่นหน้าอก

    หัวใจโตเกิดจากสาเหตุใด ?
    มีสภาวะหลายอย่างที่ทำให้หัวใจโตเช่นภาวะที่มีความดันโลหิตสูงหรือภาวะที่กล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลายเช่น กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ในเด็กจะพบว่าหัวใจพิการแต่กำเนิดเป็นสาเหตุที่พบได้บ่อย หัวใจวายเฉียบพลันและหัวใจเต้นผิดปกตินั้นสามารถเกิดภาวะหัวใจโตได้

    ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้หัวใจโต
    • ความดันโลหิตสูง[/*]
    • ประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยเฉพาะญาติสายตรง (พ่อ แม่ พี่น้องท้องเดียวกัน)[/*]
    • หลอดเลือดหัวใจตีบ[/*]
    • หัวใจพิการแต่กำเนิด[/*]
    • ลิ้นหัวใจผิดปกติ[/*]
    • กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน[/*]
    • การใช้สารเสพติดเช่น สูบบุหรี่, การติดสุราและสารเสพติดให้โทษชนิดอื่นๆ[/*]
    การรักษาการรักษาภาวะหัวใจโตนั้นจะขึ้นกับสาเหตุและปัจจัยเสี่ยงในการเกิดภาวะหัวใจโตเป็นหลัก การรักษานั้นแบ่งง่ายๆเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดภาวะหัวใจโตเช่น หมั่นตรวจเช็คความดันโลหิตอย่างสม่ำเสมอ, ออกกำลังกายเป็นประจำ, งดบุหรี่และสุรา หากมีภาวะหัวใจโตแล้วการรักษาจะมีทั้งการรับประทานยา, สวนหลอดเลือดหัวใจ, จี้ไฟฟ้าหัวใจและผ่าตัดทั้งนี้ขึ้นกับอาการ, อาการแสดงและโรคหัวใจนั้นๆเป็นหลัก[/color]

    13
    อื่น ๆ / ปั้มไลค์เพจ 1000 ไลค์ต้องเว็บ lnwlike.org
    « เมื่อ: กรกฎาคม 02, 2018, 04:43:31 AM »
    ศูนย์รวมระบบ ปั้มไลค์ ที่ดีและติดอันดับ 1 ของเมืองไทยที่ >> https://www.lnwlike.org

    14
    อื่น ๆ / Re: ปั้มไลค์ 1000 ไลค์ต้องเว็บ lnwlike.org
    « เมื่อ: กรกฎาคม 02, 2018, 03:44:25 AM »
    ปั้มไลค์ ปั้มติดตาม ปั้มคอมเม้น ปั้มรีแอคชั่น ปั้มรีวิวเพจ ปั้มแชร์ ปั้มไลค์เพจ
    ศูนย์รวมระบบปั้มไลค์ ปั้มติดตาม ปั้มคอมเม้น ปั้มรีแอคชั่น ปั้มรีวิวเพจ ปั้มแชร์ ปั้มไลค์เพจ ใช้งานฟรี การันตีโดย LnwLike.org

    เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง : https://www.lnwlike.org

    Tags : ปั้มไลค์

    15
    อื่น ๆ / ปั้มไลค์ 1000 ไลค์ต้องเว็บ lnwlike.org
    « เมื่อ: กรกฎาคม 01, 2018, 05:09:15 PM »
    ศูนย์รวมระบบ ปั้มไลค์ ที่ดีและติดอันดับ 1 ของเมืองไทยที่ >> https://www.lnwlike.org

    หน้า: [1] 2 3