1
อื่น ๆ / Re: กระดูกสันหลังหักยุบจากโรคกระดูกพรุน
« เมื่อ: ธันวาคม 14, 2021, 09:27:07 AM »
โรคกระดูกพรุนเป็นภาวะที่กระดูกมีความหนาแน่นและความแข็งแรงลดลง ซึ่งพบได้บ่อยในผู้หญิงวัยหมดประจำเดือนและผู้ชายที่มีอายุมากกว่า 70 ปีขึ้นไป โดยพบว่าความเสี่ยงต่อการเกิดกระดูกหักเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญในผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคกระดูก
ผม พรุน กระดูกหัก ตำแหน่งของกระดูกพรุนจากโรคกระดูกพรุนที่พบบ่อย ได้แก่ กระดูกสะโพก กระดูกสันหลัง และกระดูกแขนส่วนปลาย โดยกระดูกสะโพกหักจะทำให้เกิดอัตราการเสียชีวิตค่อนข้างสูง เกิดความพิการ และมีความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันลดลง ส่งผลกระทบต่อครอบครัวและสังคม สำหรับกระดูกสันหลังหักยุบจากโรคกระดูกพรุนเป็นกระดูกหักที่เกิดจากโรคกระดูกพรุนที่พบได้บ่อยที่สุด อาจเกิดขึ้นโดยไม่มีประวัติอุบัติเหตุนำมาก่อน ส่วนใหญ่มักจะไม่มีอาการ โดยเฉพาะในกรณีที่การหักยุบนั้นไม่มากจนฉันเกิดหลังค่อมกว่าคนทั่วไป แต่ในบางรายจะมีอาการปวดรุนแรง ผมและไม่สามารถลุกขึ้นนั่งหรือยึนได้ ซึ่งสามารถวินิจฉัยได้โดยภาพถ่ายรังสีของกระดูกสันหลังระดับอกและระดับเอว กระดูกหัก ฉันภายหลังการเกิดกระดูกสันหลังหักยุบลง จะทำให้หลังโก่งงอหรือกระดูกหลังคด ปริมาตรของช่องท้องและช่องทรวงอกลดลง มีผลทำให้ท้องอืดแน่นและหายใจลำบาก นำมาซึ่งการเกิดความพิการและการลดทอนคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ในการรักษาภาวะกระดูกพรุน กระดูกสันหลังหักยุบจากโรคกระดูกพรุน อาจพิจารณาได้เป็น 2 แนวทางหลัก ได้แก่ ผมการรักษาแบบไม่ผ่าตัด และ การรักษาแบบผ่าตัด เป็นต้น กระดูกหัก เป้าหมายของการรักษาแบบไม่ผ่าตัด คือ การลดความเจ็บปวด ได้แก่ การนอนพัก การให้ยาแก้ปวด การใช้กายอุปกรณ์สำหรับกระดูกสันหลัง การทำกายภาพบำบัด เป็นต้น กระดูกพรุน การรักษาแบบผ่าตัด จะใช้ในกรณีที่การรักษาแบบไม่ผ่าตัดดังกล่าวข้างต้นไม่ได้ผล หรือมีอาการของการกดทับเส้นประสาท โดยวิธีการรักษาแบบผ่าตัดซึ่งเป็นมาตรฐานในปัจจุบัน ได้แก่ การฉีดซีเมนต์โดยเจาะผ่านผิวหนังเข้าไปในกระดูกสันหลังเพื่อรักษากระดูกสันหลังหักยุบจากโรคกระดูกพรุน และการผ่าตัดแบบเปิดเพื่อรักษาการกดทับเส้นประสาทร่วมเรากับการใส่โลหะยึดตรึงกระดูกสันหลังเพื่อเสริมสร้างความแข็งแรง (กระดูกหัก )ฉัน
ในผู้ป่วยที่มีปัญหากระดูกสันหลังหักยุบจากโรคกระดูกพรุนควรได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันการเกิดกระดูกหักซ้ำในอนาคต โดยทานแคลเซียม และ วิตามินดี ให้เพียงพอ ทานยารักษาโรคกระดูกพรุนอย่างสม่ำเสมอ และให้ความสำคัญในการป้องกันการหกล้มในอนาคตด้วย กระดูกพรุนกระดูกหัก
ผม พรุน กระดูกหัก ตำแหน่งของกระดูกพรุนจากโรคกระดูกพรุนที่พบบ่อย ได้แก่ กระดูกสะโพก กระดูกสันหลัง และกระดูกแขนส่วนปลาย โดยกระดูกสะโพกหักจะทำให้เกิดอัตราการเสียชีวิตค่อนข้างสูง เกิดความพิการ และมีความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันลดลง ส่งผลกระทบต่อครอบครัวและสังคม สำหรับกระดูกสันหลังหักยุบจากโรคกระดูกพรุนเป็นกระดูกหักที่เกิดจากโรคกระดูกพรุนที่พบได้บ่อยที่สุด อาจเกิดขึ้นโดยไม่มีประวัติอุบัติเหตุนำมาก่อน ส่วนใหญ่มักจะไม่มีอาการ โดยเฉพาะในกรณีที่การหักยุบนั้นไม่มากจนฉันเกิดหลังค่อมกว่าคนทั่วไป แต่ในบางรายจะมีอาการปวดรุนแรง ผมและไม่สามารถลุกขึ้นนั่งหรือยึนได้ ซึ่งสามารถวินิจฉัยได้โดยภาพถ่ายรังสีของกระดูกสันหลังระดับอกและระดับเอว กระดูกหัก ฉันภายหลังการเกิดกระดูกสันหลังหักยุบลง จะทำให้หลังโก่งงอหรือกระดูกหลังคด ปริมาตรของช่องท้องและช่องทรวงอกลดลง มีผลทำให้ท้องอืดแน่นและหายใจลำบาก นำมาซึ่งการเกิดความพิการและการลดทอนคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ในการรักษาภาวะกระดูกพรุน กระดูกสันหลังหักยุบจากโรคกระดูกพรุน อาจพิจารณาได้เป็น 2 แนวทางหลัก ได้แก่ ผมการรักษาแบบไม่ผ่าตัด และ การรักษาแบบผ่าตัด เป็นต้น กระดูกหัก เป้าหมายของการรักษาแบบไม่ผ่าตัด คือ การลดความเจ็บปวด ได้แก่ การนอนพัก การให้ยาแก้ปวด การใช้กายอุปกรณ์สำหรับกระดูกสันหลัง การทำกายภาพบำบัด เป็นต้น กระดูกพรุน การรักษาแบบผ่าตัด จะใช้ในกรณีที่การรักษาแบบไม่ผ่าตัดดังกล่าวข้างต้นไม่ได้ผล หรือมีอาการของการกดทับเส้นประสาท โดยวิธีการรักษาแบบผ่าตัดซึ่งเป็นมาตรฐานในปัจจุบัน ได้แก่ การฉีดซีเมนต์โดยเจาะผ่านผิวหนังเข้าไปในกระดูกสันหลังเพื่อรักษากระดูกสันหลังหักยุบจากโรคกระดูกพรุน และการผ่าตัดแบบเปิดเพื่อรักษาการกดทับเส้นประสาทร่วมเรากับการใส่โลหะยึดตรึงกระดูกสันหลังเพื่อเสริมสร้างความแข็งแรง (กระดูกหัก )ฉัน
ในผู้ป่วยที่มีปัญหากระดูกสันหลังหักยุบจากโรคกระดูกพรุนควรได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันการเกิดกระดูกหักซ้ำในอนาคต โดยทานแคลเซียม และ วิตามินดี ให้เพียงพอ ทานยารักษาโรคกระดูกพรุนอย่างสม่ำเสมอ และให้ความสำคัญในการป้องกันการหกล้มในอนาคตด้วย กระดูกพรุนกระดูกหัก